Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35989
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพศาล กิตติศุภกร | - |
dc.contributor.author | ไอศิกา น้อยจันทิระ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-09-28T07:00:51Z | - |
dc.date.available | 2013-09-28T07:00:51Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35989 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันปริมาณความต้องการถ่านกัมมันต์เพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นปริมาณการผลิตถ่านกัมมันต์ย่อมเพิ่มขึ้นตามปริมาณความต้องการด้วยเช่นกัน งานวิจัยนี้ได้เสนอการประเมินวัฏจักรชีวิตเพื่อประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของการผลิตถ่านกัมมันต์ทั้งสามกระบวนการผลิตที่ใช้วัตถุดิบเป็นสารตั้งต้นแตกต่างกัน ได้แก่ การผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าว การผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์ม และการผลิตถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพด ในงานวิจัยใช้โปรแกรม HYSYS เพื่อจำลองกระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลปริมาณวัตถุดิบ พลังงานที่ใช้และปริมาณสารที่ออกจากกระบวนการผลิต เนื่องจากข้อมูลของการผลิตถ่านกัมมันต์ที่ได้มาจากบทความทางวิชาการระดับนานาชาติ วิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ในประเทศไทย จะทราบเพียงภาวะที่ใช้ในการผลิตและสารที่ออกจากกระบวนการผลิต ซึ่งการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการผลิตนั้น ใช้ดัชนีชี้วัดเชิงนิเวศน์ (Eco–indicator 99) ซึ่งดัชนีนี้สามารถประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ ประกอบด้วย ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ และการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ โดยหน่วยของค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมคือ Point : Pt ซึ่งผลการศึกษาของกระบวนการผลิตทั้งสามแบบโดยใช้ดัชนีชี้วัดเชิงนิเวศน์ พบว่า กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวมีค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุดเท่ากับ 2.6136 Pt รองลงมาคือกระบวนการผลิตจากกะลาปาล์ม มีค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเท่ากับ 2.0068 Pt และกระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดมีค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดเท่ากับ 1.2276 Pt และศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านภาวะโลกร้อนโดยคาร์บอนฟุตพริ้น ซึ่งวัดค่าในหน่วยของกิโลกรัมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า จากผลการศึกษา พบว่า กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านภาวะโลกร้อนมากที่สุดเท่ากับ 119.5567 kgCO[Subscript 2] e รองลงมาคือกระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดเท่ากับ 89.0543 kgCO[Subscript 2] e และกระบวนการผลิตที่ส่งผลกระทบน้อยที่สุด คือ กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์มเท่ากับ 87.1017 kgCO[Subscript 2] e | en_US |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, the demand of activated carbon has increased every year, so the amount of activated carbon production is increasingly needed. This research proposes a simple model based on the application of life cycle assessment (LCA) to evaluate the environmental impacts of activated carbon production process. Three production processes studied are based on different raw materials: coconut shells, palm-oil shells and corncobs. HYSYS Simulation Software has been used to simulate activated carbon production process to obtain data of the amount of raw material, energy consumption and material stream from the production process because the data of activated carbon production process derived from academic articles, thesis and dissertations in Thailand that just show the conditions of production and material stream from the production process. The analysis is accomplished using Eco-indicator 99, which is able to evaluate all environmental impacts consisting of human health, ecosystem and resource depletion. The unit of single score of the environmental impacts is Point : Pt. The results show that the process using coconut shells has the highest environmental impacts of 2.6136 Pt. The process using palm-oil shells has the lower environmental impacts than using coconut shells of 2.0068 Pt and the lowest environmental impacts is the process using corncobs which is 1.2276 Pt. The impact of global warming is studied by carbon footprint which is measured in unit of kilogram carbon dioxide equivalent. From these experimental data, It is observed that the process using coconut shells has the highest impact of global warming of 119.5567 kgCO[Subscript 2] e. The process using corncobs has the lower impact of global warming than using coconut shells of 89.0543 kgCO[Subscript 2] e and the lowest impact of global warming is the process using palm-oil shells which is 87.1017 kgCO[Subscript 2] e. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1027 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คาร์บอนกัมมันต์ | en_US |
dc.subject | คาร์บอนกัมมันต์ -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ | en_US |
dc.subject | กะลา | en_US |
dc.subject | Carbon, Activated | en_US |
dc.subject | Product life cycle | en_US |
dc.subject | Carbon, Activated -- Effect of environment on | en_US |
dc.title | การประเมินวัฏจักรชีวิตของการผลิตถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าว กะลาปาล์ม และซังข้าวโพด | en_US |
dc.title.alternative | Life cycle assessment for the activated carbon production by coconut shells, palm-oil shells and corncobs | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1027 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
i-sika_no.pdf | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.