Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41010
Title: Deposition of zinc in activated carbon from anthracite and palm-oil shell activated by zinc chloride
Other Titles: การตกสะสมของซิงก์ในถ่านกัมมันต์จากแอนทราไซต์ และกะลาปาล์มน้ำมันกระตุ้นด้วยซิงก์คลอไรด์
Authors: Kannika Minsirinum
Advisors: Tharapong Vitidsant
Yanyong Chuanuwatanakul
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: [email protected]
No information provided
Subjects: Carbon, Activated
Palm oil shell
Anthracite coal
Zinc
คาร์บอนกัมมันต์
กะลาปาล์มน้ำมัน
สังกะสี
แอนทราไซต์
Issue Date: 1999
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The research was the study of deposition of zine in the process of preparation of activated carbon from anthracite and palm-oil shell by zine chloride activation in a fixed bed reactor. The palm-oil shell was cabonized at 400 °C for 1 hr. Then, the chars and anthracite were soaked in zinc chloride solution before activation. The studied variables were temperature, time, palm-oil shell char particle size and concentration of zine chloride. The optimum condition for activation was 1.18-2.36 mm of palm-oil shell char and anthracite for the particle size of 0.80-0.90 mm, at 800°C for 3hr, 40% concentration of zine chloride. The prepared activated carbon from anthracite gave yield of 30.13%, bulk density of 0.5879 g/cm³ , iodine number of 860.35 mg/g, methylene blue number of 583.03 mg/g, B.E.T. surface area of 1026.99 m² /g and 0.20% deposition of zinc. For the prepared activated carbon from palm-oil shell obtained yield of 33.83%, bulk density of 0.5063 g/cm³ , iodine number of 1069.10 mg/g, methylene blue number of 600.25 mg/g, B.E.T. surface area of 1099.10 m² /g and 0.20% deposition of zinc. This activated carbon prepared from two types of raw material, could be used in commercial (iodine adsorption at least 600 mg/g) and food grade industry, because it has very low concentration of zine in product which is acceptable.
Other Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการตกสะสมของซิงก์ที่มาจากกระบวนการเตรียมถ่านกัมมันต์จากแอนทราไซต์และกะลาปาล์มน้ำมันโดยกระบวนการเตรียมประกอบด้วยการคาร์บอไนซ์และการกระตุ้นด้วยซิงก์คลอไรด์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง เริ่มต้นด้วยคาร์บอไนซ์กะลาปาล์มน้ำมันที่อุณหภูมิ 400 °C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง จากนั้นนำถ่านชาร์ที่ได้และแอนทราไซด์แช่ในสารละลายซิงก์คลอไรด์ก่อนนำไปกระตุ้น ตัวแปรที่ใช้ศึกษาคือ อุณหภูมิ, เวลา ขนาดของถ่านชาร์ของกะลาปาล์มน้ำมัน และความเข้มข้นของซิงก์คลอไรด์ จากผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมในการกระตุ้นคือ ถ่านชาร์ของกะลาปาล์มน้ำมันขนาด 1.18-2.36 มิลลิเมตรและแอนทราไซต์ขนาด 0.80-0.90 มิลลิเมตร, กระตุ้นที่อุณหภูมิ 800 °C เป็นเวลา 3 ชั่วโมง, ความเข้มข้นของซิงก์คลอไรด์ร้อยละ 40 โดยมวล ถ่านกัมมันต์จากแอนทราไซต์มีร้อยละผลิตภัณฑ์ 30.13, ความหนาแน่นเชิงปริมาตร 0.5879 g/cm³ , ค่าการดูดซับไอโอดีน 860.35 mg/g, ค่าการดูดซับเมทิลีนบลู 583.35 mg/g, ค่าการดูดซับเมทิลีนบลู 583.03 mg/g, พื้นที่ผิวรูพรุน 1026.99 m² /g และมีซิงก์ตกสะสมร้อยละ 0.20 ของซิงค์ที่เริ่มต้น สำหรับถ่านกัมมันต์จากกะลาปาล์มน้ำมันมีร้อยละผลิตภัณฑ์ 33.83, ความหนาแน่นเชิงปริมาตร 0.5063 g/cm³, ค่าการดูดซับไอโอดีน 1069.10 mg/g, ค่าการดูดซับเมทิลีนบลู 600.25 mg/g, พื้นที่ผิวรูพรุน 1099.10 m² /g และมีซิงก์ตกสะสมร้อยละ 0.20 ของซิงก์ที่เริ่มต้น ถ่านกัมมันต์ที่เตรียมได้จากวัตถุดิบทั้งสอบชนิดนี้สามารถนำไปใช้ในทางการค้า (ค่าการดูดซับไอโอดีนมากกว่า 600 mg/g) และใช้ในอุตสาหกรรมอาหารได้เพราะมีความเข้มข้นของซิงก์ในผลิตภัณฑ์ที่ต่ำ ซึ่งยอมรับได้
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1999
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41010
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kannika_Mi_front.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Kannika_Mi_ch1.pdf349.73 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Mi_ch2.pdf438.11 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Mi_ch3.pdf517.78 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Mi_ch4.pdf376.22 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Mi_ch5.pdf177.42 kBAdobe PDFView/Open
Kannika_Mi_back.pdf668.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.