Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42290
Title: | Effect of residual trimethylaluminum in methylaluminoxane on characteristics and catalytic properties of SiO₂-supported zirconocene/mao catalyst for ethylene polymerization |
Other Titles: | ผลของไตรเมทิลอะลูมินัมที่เหลือในเมทิลอะลูมินอกเซนต่อคุณลักษณะและสมบัติการเร่งปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาเซอร์โคโนซีน/เมทิลอะลูมินอกเซนสำหรับเอทิลีนพอลิเมอไรเซชัน |
Authors: | Chayut Chintanapatumporn |
Advisors: | Piyasan Praserthdam |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | Polymerization Ethylene Catalysts โพลิเมอไรเซชัน เอทิลีน ตัวเร่งปฏิกิริยา |
Issue Date: | 2012 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In this study, the effect of residual trimethylaluminum in methylaluminoxane was studied through catalytic activity of ethylene polymerization. The conditions of support calcination temperatures and SiO₂:MAO molar ratios were first investigated, which the heating temperature at 600 ºC and SiO₂:MAO ratio of 1.5 provided the suitable condition. Afterwards, the MAO having TMA (dried-MAO or dMAO) removed was prepared and reacted with various amounts of TMA. Then, the mixture of dMAO+TMA was impregnated on to the commercial silica support followed by metallocene catalyst. The silica-supported zirconocene/dMAO+TMA was prepared. The activity of ethylene polymerization of residual TMA at 28.6 wt% offered the highest catalytic activity. The reason is that at the amount of TMA less than 28.6 wt% of silica-supported dMAO+TMA, isolated silanol group was observed and when it reacted with metal complex, the catalyst poison was formed. In case of TMA higher than 28.6 wt%, the cocatalyst resulted in the inactive species, which affected on the reduction of catalytic activity. |
Other Abstract: | ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับไตรเมทิลอะลูมินัมที่เหลือในเมทิลอะลูมินอกเซนโดยจะศึกษาถึงกระทบต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการเอทิลีนพอลิเมอไรเซชัน ซึ่งขั้นตอนแรกจะทำการศึกษาถึงอุณหภูมิในการแคลไซน์ซิลิกาและอัตราส่วนโดยโมลระหว่างซิลิกาและเมทิลอะลูมินอกเซน โดยพบว่าอุณหภูมิที่ 600 องศาเซลเซียสและอัตราส่วนโดยโมลระหว่างซิลิกาและเมทิลอะลูมินอกเซนที่ 1.5 มีความเหมาะสมมากที่สุด หลังจากนั้นจะนำเมทิลอะลูมินอกเซนที่นำการกำจัดไตรเมทิลอะลูมินัม(dried-MAO or dMAO) มาผสมกับปริมาณต่างๆที่ต้องการของไตรเมทิลอะลูมินัม ซึ่งส่วนผสมของ dMAO กับไตรเมทิลอะลูมินัมจะถูกยึดเกาะลงบนซิลิกาแล้วตามด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน จากการทดลองพบว่าdMAO กับไตรเมทิลอะลูมินัมที่ปริมาณ 28.6 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักจะมีความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาที่มากที่สุด เนื่องจากปริมาณของไตรเมทิลอะลูมินัมที่น้อยกว่า 28.6 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก จะพบว่ามีหมู่ไฮดรอกซิลของdMAO กับไตรเมทิลอะลูมินัมบนซิลิกาที่หลงเหลืออยู่ ซึ่งเมื่อทำปฏิกิริยากับตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนจะเกิดสารปนเปื้อนขึ้นซึ่งส่งผลต่อความว่องไวของปฏิกิริยา ในส่วนของไตรเมทิลอะลูมินัมที่มากกว่า 28.6 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก จะพบว่าเกิดสปชี่ส์ที่มีความว่องไวต่ำซึ่งส่งผลให้ระบบมีความว่องไวของปฏิกิริยาที่น้อยลง |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42290 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.473 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2012.473 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chayut _Ch.pdf | 4.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.