Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ จงชัยกิจ-
dc.contributor.authorกอบพล สิริมานุวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-06-23T02:31:14Z-
dc.date.available2015-06-23T02:31:14Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42369-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractหนึ่งในเทคนิคที่นำมาใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงความร้อนในกระบวนการหลอมเหล็กด้วยเตาหลอมเหล็กแบบอาร์กไฟฟ้า คือการควบคุมให้สแลกเป็นฟองปกคลุมผิวน้ำเหล็ก ตลอดกระบวนการหลอม ปัจจุบันโรงงานเหล็กส่วนใหญ่อาศัยการประเมินระดับความหนา ของฟองสแลกด้วยสายตา และจากการฟังเสียงอาร์กโดยผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งคุณภาพและประสิทธิภาพของการควบคุมขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความเอาใจใส่ของผู้ปฏิบัติงาน วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการออกแบบและสร้างระบบตรวจสังเกตการเกิดฟองสแลกในเตาหลอมเหล็กแบบอาร์กไฟฟ้า โดยตรวจวัดแรงดันอาร์กของเตา เพื่อนำมาวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลเป็นดัชนี การเกิดฟองสแลกด้วยโปรแกรม LabVIEW จากการทดสอบใช้งานจริงโดยเปรียบเทียบระหว่าง ดัชนีการเกิดฟองสแลกที่ได้จากระบบตรวจสังเกตการเกิดฟองสแลก กับอัตราการพ่นแก๊ส ออกซิเจน พบว่าที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ค่าเฉลี่ยดัชนีการเกิดฟองสแลกมีความสัมพันธ์ (ทางบวก) กับค่าเฉลี่ยอัตราการพ่นแก๊สออกซิเจนในระดับสูง และจากการเปรียบเทียบระหว่างดัชนี การเกิดฟองสแลกที่ได้จากระบบตรวจสังเกตการเกิดฟองสแลก และปริมาณเหล็กออกไซด์ ในสแลก พบว่าที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ค่าเฉลี่ยดัชนีฟองสแลกมีความสัมพันธ์ (ทางลบ) กับปริมาณเหล็กออกไซด์ในสแลกในระดับสูงเช่นกัน กล่าวคือระบบตรวจสังเกตการเกิดฟองสแลกสามารถสะท้อนระดับฟองสแลกและสภาวะของฟองสแลกภายในเตาได้ จึงสามารถนำไปใช้ควบคุม การทำฟองสแลกได้ ตลอดจนนำไปประยุกต์เป็นระบบควบคุมการพ่นแก๊สออกซิเจนสำหรับกระบวนการหลอมเหล็กด้วยเตาหลอมเหล็กแบบอาร์กไฟฟ้าโดยอัตโนมัติen_US
dc.description.abstractalternativeOne of the techniques to improve the thermal efficiency of the iron making process using electric arc furnace is to control the slag foaming which covers the molten iron. Generally, a steel mill with electric arc furnace estimates the slag foam thickness by observing the visual perception and sound of the arc. The quality and efficiency depend upon experience and perseverance of the operator. This article presents the design and construction of a detector for slag foaming in electric arc furnace using arc voltage analysis. In this development, the slag foaming detector analyzes arc voltage and interprets the signal for slag foaming index using LabVIEW software. The study found a strong (positive) correlation between the slag foaming index and gas flow rate which is significant at the 0.01 level. And the study found a strong (negative) correlation between the slag foaming index and iron oxide content which is significant at the 0.01 level. Moreover, the detector can indicate slag foaming in molten slag. Therefore, this proposed method can be used to control slag foaming. It can also be applied to the oxygen lance automatic control.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.991-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเตาหลอมไฟฟ้าen_US
dc.subjectอาร์กไฟฟ้าen_US
dc.subjectการหลอมเหล็กen_US
dc.subjectElectric furnacesen_US
dc.subjectElectric arcen_US
dc.subjectIron foundingen_US
dc.titleการออกแบบและสร้างระบบตรวจสังเกตการเกิดฟองสแลก ในเตาหลอมเหล็กแบบอาร์กไฟฟ้าโดยใช้การวิเคราะห์แรงดันอาร์กen_US
dc.title.alternativeDesign and construction of a detector for slag foaming in electric arc furnace using arc voltage analysisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.991-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kobpol_si.pdf8.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.