Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42609
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรพล ภู่วิจิตร | en_US |
dc.contributor.author | ชินดนัย ไชยโกษฐ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | |
dc.coverage.spatial | ตาก | |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:11:01Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:11:01Z | |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42609 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายในการแต่งแร่เฟลด์สปาร์ด้วยวิธีการลอยแร่ที่ไม่ใช้กรดกัดแก้ว เพื่อลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพร่างกายที่มาจากการใช้กรดกัดแก้วในการแยกแร่ขั้นตอนสุดท้าย การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของตัวอย่างแร่ด้วยรังสีเอกซ์เลี้ยวเบนพบว่าประกอบด้วยแร่ควอตซ์ ไมโครไคลน์ และเอลไบต์เป็นส่วนใหญ่ นอกจากนั้นพบแร่มัสโคไวต์เล็กน้อย ส่วนการศึกษาคุณสมบัติแร่ด้วยรังสีเอกซ์เรืองแสงเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี พบว่ามีซิลิกา 71.87% แคลเซียมออกไซด์ 0.08% ไทเทเนียมออกไซด์ 0.02% เฟอร์ริกออกไซด์ 0.12% อะลูมินา 17.01% แม็กนีเซียมออกไซด์ 0.05% โพแทสเซียมออกไซด์ 4.94% โซเดียมออกไซด์ 4.60% และการสูญเสียน้ำหนักจากการเผาไหม้ 0.31% จากผลการวิเคราะห์แร่ตัวอย่างนี้ยังไม่สามารถนำไปใช้ทางเซรามิคได้ การศึกษาลอยแร่เฟลด์สปาร์ออกจากแร่ควอตซ์โดยใช้กรดกัดแก้ว ได้สภาวะที่เหมาะสมในการลอยซึ่งมีตัวแปรทำงานที่ค่า pH 2.8 และใช้ปริมาณน้ำยาเคลือบผิวแร่ Duomeen TDO 0.3 กิโลกรัมต่อตันแร่ป้อน โดยมีผลการเก็บแร่ได้ 53.80% และผลวิเคราะห์ทางเคมีของซิลิกา 68.90% โพแทสเซียมออกไซด์ 6.01% โซเดียมออกไซด์ 6.49% การศึกษาลอยแร่เฟลด์สปาร์ออกจากแร่ควอตซ์โดยใช้กรดซัลฟิวริก ได้สภาวะที่เหมาะสมในการลอยซึ่งมีตัวแปรทำงานที่ค่า pH 2.5 และใช้ปริมาณน้ำยาเคลือบผิวแร่เอมีนชนิดทุติยภูมิ Duomeen TDO 3.2 กิโลกรัมต่อตันแร่ป้อน โดยมีผลการเก็บแร่ได้ 53.48% และผลวิเคราะห์ทางเคมีของซิลิกา 68.52% โพแทสเซียมออกไซด์ 6.38% โซเดียมออกไซด์ 5.51% ขั้นตอนการลอยแร่เฟลด์สปาร์ออกจากแร่ควอตซ์โดยใช้กรดซัลฟิวริก เมื่อเทียบกับกรดกัดแก้วนั้นได้ผลการลอยแร่ที่ใกล้เคียงกัน แม้ว่าผลการเก็บแร่ได้และผลวิเคราะห์ทางเคมีของการใช้กรดกัดแก้วจะดีกว่าการใช้กรดซัลฟิวริกเล็กน้อย แต่ผลการเก็บแร่ได้และผลวิเคราะห์ทางเคมีของการใช้กรดซัลฟิวริกก็เพียงพอต่อการนำแร่ที่ได้ไปใช้ในทางอุตสาหกรรมเซรามิค | en_US |
dc.description.abstractalternative | The aim of this research is to upgrade feldspar ore by using non-hydrofluoric (HF) acid floatation method in order to reduce environmental and health impacts from using it in the final flotation process. The results of XRD analysis revealed that the feed mineral was low grade feldspar which was consisted of feldspar, quartz and ferrous impurity minerals such as garnet, tourmaline, muscovite and biotite. The chemical analysis by XRF method revealed that percentage of the feed mineral was 4.60 %Na2O, 4.94 %K2O, and 71.87 %SiO2 which cannot use in ceramic industry. Floating feldspar from quartz by HF flotation method, the optimum condition must be adjusted at pH 2.8, using Secondary amine (Duomeen TDO) as a collector at 0.3 kg / ton. The results showed that the recovery of concentrate feldspar was 53.80% by weight and the chemical analysis of concentrate feldspar was 6.01% Na2O, 6.49% K2O and 68.52% SiO2. Floating feldspar from quartz by non-HF flotation method, the optimum condition must be adjusted at pH 2.5, using Secondary amine (Duomeen TDO) as a collector at 3.2 kg / ton. The results showed that the recovery of concentrate feldspar was 53.48% by weight and the chemical analysis of concentrate feldspar was 6.38% Na2O, 5.51% K2O and 68.90% SiO2. These experiments lead to the conclusion that the results of non-HF flotation method and HF flotation method are similar. Even though the results of HF flotation method are better, the non-HF flotation method can also be used in the ceramic industry and reduce environmental and health impacts. However, the cost of the chemicals used in the process should be considered. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.85 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การแต่งแร่ -- ไทย -- ตาก | |
dc.subject | หินฟันม้า -- ไทย -- ตาก | |
dc.subject | Ore-dressing -- Thailand -- Tak | |
dc.subject | Feldspar -- Thailand -- Tak | |
dc.title | การปรับปรุงคุณภาพแร่เฟลด์สปาร์โดยวิธีการลอยแร่ที่ไม่ใช้กรดกัดแก้ว: กรณีศึกษาแหล่งทุ่งกระเชาะจังหวัดตาก | en_US |
dc.title.alternative | UPGRADING OF FELDSPAR BY NON-HF FLOTATION METHOD: CASE STUDY OF THUNG KRA SO DEPOSIT TAK PROVINCE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมทรัพยากรธรณี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.85 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5370540721.pdf | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.