Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงแข สิทธิเจริญชัยen_US
dc.contributor.advisorชัชวาล ใจซื่อกุลen_US
dc.contributor.authorนพรัตน์ พงศ์จันทร์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialไทย
dc.coverage.spatialจันทบุรี
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:04Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:04Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42622
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษา ชนิด ความชุกชุม และการกระพริบแสงของหิ่งห้อยในป่าชายเลนบริเวณสถานีพัฒนา ทรัพยากรป่าชายเลนที่ 2 ลุ่มน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 พบหิ่งห้อย 3 ชนิด คือ หิ่งห้อยชนิดเด่นที่อยู่ปะปนกัน 2 ชนิด ได้แก่ Pteroptyx malaccae และ P. valida นอกจากนี้ยังพบหิ่งห้อยชนิด Asymmetricata circumdata อีกด้วย ในแต่ละเดือนที่ศึกษาใช้วิธีการถ่ายภาพการกระพริบแสงของหิ่งห้อยในช่วงคืนเดือนแรม และใช้จำนวนแสงกระพริบของหิ่งห้อยที่ปรากฏอยู่บนภาพถ่ายเป็นข้อมูลของความชุกชุมและข้อมูลการกระพริบแสงของหิ่งห้อย ผลการศึกษาความชุกชุมของหิ่งห้อยพบว่ามีความชุกชุมของหิ่งห้อย P. valida และ P. malaccae มากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญในเดือนตุลาคม นอกจากนี้ยังพบว่าความชุกชุมของหิ่งห้อยแปรผันตามอุณหภูมิอากาศและความชื้นสัมพัทธ์อากาศ แต่แปรผกผันกับปริมาณน้ำฝน อย่างไรก็ตามจากการศึกษาไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของความชุกชุมของหิ่งห้อยระหว่างฤดูฝนกับฤดูแล้ง ช่วงเวลาที่หิ่งห้อยกระพริบแสงมากอยู่ที่ช่วงเวลาประมาณ 19:00 – 22:00 น. หลังจากช่วงเวลานี้การกระพริบแสงของหิ่งห้อยค่อย ๆ ลดน้อยลงจนถึงเวลาใกล้รุ่ง แม้ว่าจะพบการกระพริบแสงของหิ่งห้อยทั้งสองชนิดในพื้นที่ศึกษามากในเดือนตุลาคมและเดือนมีนาคม แต่การกระพริบแสงยังคงปรากฏให้พบเห็นตลอดทุกเดือนที่ทำการศึกษาลักษณะเช่นนี้บ่งให้เห็นว่าพื้นที่ศึกษาสามารถถูกใช้เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้ตลอดทั้งปี การจัดการป่าชายเลนและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศควรจะมีการวางแผนสำหรับการอนุรักษ์หิ่งห้อยในพื้นที่ เช่น ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเข้าชมการกระพริบแสงของหิ่งห้อยในพื้นที่นี้ คือ ช่วงคืนเดือนแรมเวลา 19:00 น. – 22:00 น.en_US
dc.description.abstractalternativeSpecies, abundance and flashing displays of fireflies were investigated from August 2012 to September 2013 in a mangrove forest at Welu Wetland, Chanthaburi Province. Three firefly species were found including two dominant coexisting firefly species: Pteroptyx malaccae, P. valida and Asymmetricata circumdata. Flashing displays of the two dominant Pteroptyx fireflies were photographed during waning moon nights monthly, and the flashing numbers were counted from those photographs for abundance and flashing data. The abundance of the two dominant firefly species was significantly highest in October 2012. Moreover, air temperature and relative humidity positively influenced the firefly abundance, but rainfall negatively influenced the firefly abundance. However, there was no statistic difference in the firefly abundances between the wet season and the dry season. The highest flashing displays of the fireflies were approximately from 19:00 to 22:00. Then, the average flashing numbers gradually declined until dawn. Although the flashing displays were most frequent in October 2012 and March 2013, the firefly flashing activities still occurred throughout the study period. Thus, the research site could be promoted as an ecotourism area all year round. Mangrove forest and ecotourism management should be planned for the firefly conservation in this area with the suitable time for observing synchronous flashing in this area from 19:00 to 22:00 especially during waning moon nights.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.98-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหิ่งห้อย -- ไทย -- จันทบุรี
dc.subjectการสำรวจทางสัตววิทยา
dc.subjectความหลากหลายของชนิดพันธุ์
dc.subjectFireflies -- Thailand -- Chanthaburi
dc.subjectZoological surveys
dc.subjectSpecies diversity
dc.titleชนิด ความชุกชุม และการกระพริบแสงของหิ่งห้อยในป่าชายเลนลุ่มน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรีen_US
dc.title.alternativeSPECIES, ABUNDANCE AND FLASHING DISPLAY OF FIREFLIES IN A MANGROVE AT WELU WETLAND, CHANTHABURI PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสัตววิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]en_US
dc.email.advisor[email protected]
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.98-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5372518323.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.