Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42685
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์en_US
dc.contributor.authorกฤตนันทน์ เตนากุลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:11:18Z
dc.date.available2015-06-24T06:11:18Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42685
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการศึกษาอคติหรือการรังเกียจกลุ่มอื่นในคนไทยที่ผ่านมามีอยู่จำกัด การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของทิศทางของความเห็น และความเกี่ยวเนื่องกับผู้ออกความเห็น ที่มีต่อเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝงในบุคคลที่มีบุคลิกภาพกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำ ในการทดลองนี้ นักศึกษามหาวิทยาลัย 200 คนตอบมาตรวัดการกำกับการแสดงออกของตนและได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความเห็นของบุคคลที่เกี่ยวเนื่องหรือไม่เกี่ยวเนื่องกับตนที่เป็นไปในทางชอบหรือไม่ชอบคนนอกกลุ่ม ผลการวิเคราะห์อิทธิพลกำกับพบว่า เจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝงของผู้ร่วมการทดลองวัดโดยการทดสอบการเชื่อมโยงแอบแฝง ได้รับอิทธิพลจากความเห็นของผู้อื่นเฉพาะกรณีที่ผู้นั้นมีความเกี่ยวเนื่องกับตนสูง แต่บุคลิกภาพกำกับการแสดงออกของตนไม่มีอิทธิพลต่อเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝง ผลการวิจัยมีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำความเข้าใจและการลดความรังเกียจกลุ่มของชาวไทยen_US
dc.description.abstractalternativeStudies on Thai individuals’ prejudice against other racial groups are rare. The present research aims to experimentally test effects of consensus information type and source of social influence on implicit prejudice as moderated by self-monitoring personality among Thai individuals. Two hundred college students completed a measure of self-monitoring prior to receiving either positive or negative consensus information about outgroup ostensibly from either a high- or low-interdependence source. An analysis of moderating effects showed that implicit prejudice measured by an implicit association test was influenced by consensus information, but only when such information was said to be from a high-interdependence source. Self-monitoring had no effect on implicit prejudice. These findings are crucial for understanding and reducing prejudice of Thais.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.158-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอคติ (จิตวิทยา)
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)
dc.subjectฉันทานุมัติ
dc.subjectจิตวิทยาประยุกต์
dc.subjectPrejudices
dc.subjectAssertiveness (Psychology)
dc.subjectConsensus (Social sciences)
dc.subjectPsychology, Applied
dc.titleผลของความเห็นของผู้อื่น การกำกับการแสดงออกของตน และความเกี่ยวเนื่องกับแหล่งข้อมูล ต่อเจตคติรังเกียจกลุ่มแบบแอบแฝงen_US
dc.title.alternativeEFFECTS OF CONSENSUS INFORMATION, SELF-MONITORING, AND SOURCE INTERDEPENDENCE ON IMPLICIT PREJUDICEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาประยุกต์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.158-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5477753438.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.