Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44259
Title: | การตั้งสูตรตำรับครีมน้ำผึ้งสำหรับรักษาแผลติดเชื้อ Staphylococcus aureus |
Authors: | ฐิติรัตน์ ลิ่มดุลย์ ธนิต วิริยะธารากิจ ธัชพงศ์ ธรรมบรรหาร |
Advisors: | วิภาพร พนาพิศาล อารีรัตน์ ลออปักษา อัญญพร ตันศิริคงคล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล [email protected] ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | Staphylococcus aureus infections Wounds and injuries -- Infections -- Treatment บาดแผลและบาดเจ็บ -- การติดเชื้อ -- การรักษา |
Issue Date: | 2555 |
Publisher: | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้มีการค้นพบว่า น้าผึ้งใช้รักษาแผลติดเชื้อที่ผิวหนังได้ ซึ่งเชื้อสาเหตุหลักมักจะเกิดจากเชื้อ Staphylococcus aureus (S. aureus) แต่การนาน้าผึ้งมาใช้โดยตรงก่อให้เกิดความไม่สะดวกแก่ผู้ใช้ได้ เนื่องจากน้าผึ้งมีลักษณะเหลวและไหลได้ ทั้งยังก่อให้ เกิดความเหนอะหนะบริเวณที่ทา ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงศึกษาหาชนิดและปริมาณของน้าผึ้งจากดอกไม้ต่างๆที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ เพื่อตั้งเป็นสูตรตารับครีมซึ่งมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ สะดวกต่อผู้ใช้ และให้ลักษณะสัมผัสที่ดีเมื่อทาบริเวณผิวหนัง ในการทดลองหาชนิดของน้าผึ้งที่เหมาะสมในการยับยั้งเชื้อโดยวิธี agar diffusion method พบว่าน้าผึ้งดอกลาไยและน้าผึ้งดอกงามีขนาดโซนใสแตกต่างจากน้ากลั่นและมากกว่าน้าผึ้งจากดอกไม้ชนิดอื่นๆอย่างมีนัยสาคัญ (p-value < 0.05) จากนั้นได้หาความเข้มข้นของน้าผึ้งที่ต่าที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ได้ (ค่า MIC) โดยวิธี broth dilution method พบว่าค่า MIC ของน้าผึ้งดอกลาไยเท่ากับ 0.2 กรัม/มิลลิลิตร และน้าผึ้งดอกงาเท่ากับ 0.15 กรัม/มิลลิลิตร จึงได้เลือกน้าผึ้งดอกงามาพัฒนาเป็นครีมรักษาแผลติดเชื้อบริเวณผิวหนังต่อไป การตั้งตารับยาพื้นครีมชนิดน้ามันในน้าที่เหมาะสมที่มีชนิดและปริมาณของสารก่ออิมัลชันต่างๆโดยวิธี beaker method พบว่าสูตรตารับที่ใช้ Span®80 และ Tween®80 ร้อยละ 4 และ GMS SE ร้อยละ 3, 4 และ 5 ของสูตรตารับเป็นสารก่ออิมัลชัน มีความคงตัวหลังผ่านสภาวะเร่งที่อุณหภูมิ 45 สลับกับ 4 องศาเซลเซียส จานวน 6 รอบ และเมื่อนาไปพัฒนาเป็นสูตรตารับครีมน้าผึ้งประกอบด้วยน้าผึ้งดอกงาความเข้มข้น 0.3 กรัม/มิลลิลิตร พบว่าสูตรตารับครีมน้าผึ้งที่ใช้ GMS SE มีความคงตัวหลังผ่านสภาวะเร่ง การนาครีมน้าผึ้งที่พัฒนาได้ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ พบว่าครีมน้าผึ้งที่ใช้สารก่ออิมัลชันเป็น GMS SE ร้อยละ 3 ให้ขนาดโซนใสที่แตกต่างจากยาพื้นครีมอย่างมีนัยสาคัญ (p-value < 0.05) และมีค่าเฉลี่ยของขนาดโซนใสดีที่สุด น้าผึ้งดอกงามีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 ได้ดีกว่าน้าผึ้งชนิดอื่นที่ทาการศึกษา และยาพื้นครีมที่ใช้ GMS SE ปริมาณร้อยละ 3 เป็นสารก่ออิมัลชันมีความคงตัวดีในสภาวะเร่ง สามารถบรรจุน้าผึ้งดอกงาที่ความเข้มข้น 0.3 กรัม/มิลลิลิตร และยังคงมีความคงตัวดี รวมทั้งมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC 25923 เมื่อเทียบกับยาพื้นครีม |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44259 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Pharm - Senior projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
titirat_li.pdf | 4.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.