Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44558
Title: ตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์บอนที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสยางรถยนต์ใช้แล้วสำหรับปฏิกิริยาของเอทานอล
Other Titles: CARBON-BASED CATALYST DERIVED FROM PYROLYSIS OF USED TIRE FOR REACTION OF ETHANOL
Authors: วีรพัฒน์ วิวัฒโนดม
Advisors: บรรเจิด จงสมจิตร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ดีไฮโดรจีเนชัน
คาร์บอนกัมมันต์
ซัลโฟเนชัน
กรดกำมะถัน
ยางล้อ
การแยกสลายด้วยความร้อน
เอทิลีน
Dehydrogenation
Carbon, Activated
Sulfonation
Sulfuric acid
Pyrolysis
Tires
Ethylene
Issue Date: 2557
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับคาร์บอนที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสยางรถยนต์ใช้แล้วมาปรับปรุงให้มีความสามารถในการเร่งปฏิกิริยากับเอทานอลที่อุณหภูมิ 200-400 องศาเซลเซียส โดยเปรียบเทียบระหว่างการนำคาร์บอนมาปรับปรุงคุณภาพด้วยกรดไฮโดรคลอริกและกรดไนตริก กระตุ้นทางเคมีด้วยกรดฟอสฟอริกที่อุณหภูมิ 420 , 520 และ 620 องศาเซลเซียส จากนั้นใช้ดูดซับกรดซัลฟิวริกเพื่อเพิ่มความเป็นกรดในการทำปฏิกิริยากับเอทานอลจากการศึกษาพบว่า หลังจากกระตุ้นคาร์บอนให้เป็นถ่านกัมมันต์จะทำให้เกิดรูพรุนแบบมีโซพอร์ ถ่านกัมมันต์เหล่านี้เมื่อนำไปดูดซับกรดซัลฟิวริกและนำไปใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยากับเอทานอลจะให้ผลิตภัณฑ์หลักเป็นเอทิลีน เนื่องจากเกิดเป็นปฏิกิริยาเอทานอลดีไฮเดรชัน โดยความเป็นกรดของตัวเร่งปฏิกิริยามีผลต่อร้อยละการเปลี่ยนแปลงของเอทานอล ที่อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยา 400 องศาเซลเซียสมีผลต่อการเกิดเอทิลีนสูงสุด
Other Abstract: This research focused on investigation of carbon from pyrolysis of used tire for improvement of catalytic reaction for ethanol at temperature 200-400ºc by comparism between carbon treatment with hydrochloric acid and nitric acid. Then, it was activate to form activated carbon by treating with phosphoric acid at various temperatures of 420 , 520 and 620 ºc. After that it was adsorbed with sulfuric acid and used for catalytic reaction with ethanol. It was found that the activated carbon is presented with mesoporous structure. These activated carbons adsorb with sulfuric acid and react with ethanol producing ethylene as the main product due to dehydration reaction of ethanol. Acidity of catalysts affects ethanol conversion. At reaction temperature of 400 ºc yields the highest ethylene production.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44558
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.513
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2014.513
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570946021.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.