Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรอุมา ชุติเนตร-
dc.contributor.advisorธิติ สนับบุญ-
dc.contributor.advisorนิจศรี ชาญณรงค์-
dc.contributor.authorสิริกัลยา พูลผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-24T08:39:49Z-
dc.date.available2015-08-24T08:39:49Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44736-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractที่มาของการวิจัย: โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่เกิดจากหลายสาเหตุ ปัจจุบันมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุนว่าความผิดปกติทางพันธุกรรมเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคหลอดเลือดสมอง มีการศึกษาพบความแปรปรวนทางพันธุกรรมบนโครโมโซม 9p21 มีความสัมพันธ์กับโรคสมองขาดเลือด การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ตรวจหาความสัมพันธ์ระหว่างความแปรปรวนทางพันธุกรรมบนยีน ANRIL ซึ่งอยู่บนขาสั้นบนโครโมโซมที่ 9 ในผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดที่เกิดจากหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะและหรือหลอดเลือดแดงคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มควบคุมโดยมีการจับคู่ลักษณะบางอย่างของทั้งสองกลุ่มให้คล้ายคลึงกัน โดยเริ่มการศึกษาตั้งแต่ มิถุนายน 2555 ถึง กุมภาพันธ์ 2556 มีผู้ป่วยได้เข้าร่วมการศึกษา141 ราย กลุ่มควบคุม 158 ราย ในกลุ่มผู้ป่วยมีหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะตีบ 104 ราย หลอดเลือดแดงคาโรติดนอกโพรงกะโหลกศีรษะตีบ 21 รายและมีการตีบของหลอดเลือดทั้ง 2 ตำแหน่ง 16 ราย และได้เก็บตัวอย่างเลือดเพื่อส่งตรวจหาลำดับนิวคลีโอไทด์โดยวิธีของ Sanger ต่อไปผลการศึกษา: จากจำนวนตัวอย่างทั้งหมด 299 รายสามารถส่งตรวจทางพันธุกรรมได้สมบูรณ์ 289 รายคิดเป็นร้อยละ 96 พบว่าที่เบสทั้งสองตำแหน่งมีลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรมจากเบส A>G ซึ่งแสดงลักษณะทางพันธุกรรมได้ดังนี้ AA, AG, GG โดยอัลลีลที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคคือ AGและ GG ผลการศึกษาพบว่าความถี่ของลักษณะทางพันธุกรรมระหว่างกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน(rs 10757274 p=0.17,rs2383206 p=0.35) และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรมกับโรคหลอดเลือดสมอง (rs 10757274 OR1.58(0.87-2.86,p=0.11),rs2383206 OR 0.64(0.33-1.23,p=0.15) แต่ในกลุ่มย่อยพบแนวโน้มมีความสัมพันธ์ระหว่างจีโนไทป์ AG กับการมีหลอดเลือดแดงในโพรงกะโหลกศีรษะตีบ OR 2.54(0.89-7.27,p=0.09) สรุปผลการศึกษา: การศึกษานี้พบว่าการกระจายตัวของลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรมระหว่างกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน และไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความแปรปรวนทางพันธุกรรมของเบสตำแหน่ง rs 10757274 และ rs2383206 บนยีน ANRIL ซึ่งอยู่บนโครโมโซม 9 กับโรคสมองขาดเลือดจากภาวะหลอดเลือดแดงแข็งen_US
dc.description.abstractalternativeBackgound Stroke is a multifactorial disease with strongly evidence of genetic relation, but specific genetic variants remain unknown. Recent genome wide-association studies indentified that common variants on chromosome 9p21 are associated with ischemic stroke. This study purpose to find the association of genetic polymorphism of ANRIL gene between stroke patients with intracranial and/or extracranial large artery atherosclerosis comparison with control group in King Chulalongkorn Memorial Hospital. Method A case-control study was conducted between June 2012 to February 2013. Total 141 cases and 158 control subjects were enrolled, comprising 120 intracranial stenosis 21 extracranial stenosis and 16 both intracranial and extracranial stenosis. The SNPs on rs 10757274 and rs 2383206 locus were selected to genotyping study. ResultsTotal 289 (137 cases and 142 control subjects) have completed DNA sequencing results.Both locus have A>G variants, the genotypes allele are AA, AG and GG. The results of comparison between risk alleles (AG+GG) and normal alleles (AA) in all cases and control subjects are , rs 10757274 OR 1.58(0.87-2.86, p= 0.11) and rs 2383206 0.64(0.33-1.23, p=0.15) . The comparison between site of vascular stenosis and control subjects, the rs 10757274 locus ; IC group OR 1.37(0.73-2.35,p=0.30), EC group OR 2.09(0.34-1.26,p=0.21) . the rs 2383206 locus ; IC group OR 0.65(0.32-1.33,p=0.27) , EC group OR 1.19(0.32-4.52,p=0.79). We also found that in subgroup analysis of risk alleles of each SNPs and site of vascular stenosis, the rs 10757274 locus genotype AG shows trend to be association with intracranial stenosis OR 2.54 (0.89-7.27, p=0.09). Conclusion The study shows no significant differentiation between SNPs of the 2 locus between case and control group, and also no association between each SNPs and the site of arterial stenosis. But trend to be association between variants of rs 10757274 locus with genotype AG and intracranial stenosis.The allele frequencies of Thai subjects were similar to prior studies in Chinese and Austria.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1597-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสมองขาดเลือดเลี้ยง -- แง่พันธุศาสตร์en_US
dc.subjectสมองขาดเลือดเลี้ยง -- การวินิจฉัยโรคen_US
dc.subjectโรคเส้นเลือดสมองตีบชั่วคราว -- แง่พันธุศาสตร์en_US
dc.subjectโรคเส้นเลือดสมองตีบชั่วคราว -- การวินิจฉัยโรคen_US
dc.subjectหลอดเลือดแดง -- ภาวะตีบแคบ -- แง่พันธุศาสตร์en_US
dc.subjectCerebral ischemia -- Genetic aspectsen_US
dc.subjectCerebral ischemia -- Diagnosisen_US
dc.subjectTransient ischemic attack -- Genetic aspectsen_US
dc.subjectTransient ischemic attack -- Diagnosisen_US
dc.subjectArteries -- Stenosis -- Genetic aspectsen_US
dc.titleการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน แอนริลในผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดที่มีการตีบของหลอดเลือดแดงภายในโพรงกะโหลกศีรษะ และหรือมีการตีบของหลอดเลือดแดงอินเทอร์นอลคาโรติดส่วนนอกโพรงกะโหลกศีรษะเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่เคยเป็นโรคสมองขาดเลือดและไม่มีการตีบของหลอดเลือดen_US
dc.title.alternativeComparison of genetic polymorphism on ANRIL gene between ischemic stroke patients with intracranial arterial stenosis and/or extracranial carotid stenosis and control groupen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1597-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirikanlaya_po.pdf2.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.