Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44943
Title: Effect of silane-modified clay on polyethylene/clay nanocomposites prepared by in situ polymerization with zirconocene/mao catalyst
Other Titles: ผลของเคลย์ที่ถูกปรับปรุงด้วยไซเลนต่อพอลิเอทิลีนเคลย์นาโน คอมโพสิทที่เตรียมโดยอินซิทูพอลิเมอร์ไรเซซันด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเซอร์โคโนซีน/เอ็มเอโอ
Authors: Suwimon Poorahong
Advisors: Bunjerd Jongsomjit
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Polyethylene
Silane
Metallocene catalysts
Nanocomposites (Materials)
Catalysts
Polymerization
Ethylene
โพลิเอทิลีน
นาโนคอมพอสิต
ไซเลน
ตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีน
ตัวเร่งปฏิกิริยา
โพลิเมอไรเซชัน
เอทิลีน
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Polyethylene is the most widely used commodity plastics because of low production cost, reduced environmental impact and the wide range of application. However, the usage of polyethylene has some restrictions. Polyethylene has low mechanical strength, low thermal resistance, low gas permeability and easy to catch fire. The polymer was added by additive or filler, which that can improve polyethylene properties. Generally, the addition of additive into polymer use micro-size additive but in the recent year, nano-size additive was added to polymer. It was found that the nano-sized additive show better properties than micro-size additive. The addition of nano-sized additive or nanofiller is called polymer nanocomposties. In this research, for the first part of this study, the two different impregnation methods (in situ and ex situ impregnation method) were investigated. For the second part, unmodified and modified by silane compounds were conducted. The properties of polyethylene/clay nanocomposites were also investigated. It found that in situ impregnation method gives higher catalytic activity than ex situ impregnation method. The ex situ impregnation method resulted in maximal thermal properties and crystallization. The nanoclay was modified by tetracholosilane (SiCl4), which it shows the higher activity than unmodified nanoclay.
Other Abstract: พอลิเอทิลีนเป็นพอลิเมอร์ที่นิยมนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากเนื่องจากมีต้นทุนในการผลิตต่ำ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และนำไปใช้งานได้หลากหลาย แต่อย่างไรก็ตามพอลิเอทิลีนยังมีคุณสมบัติบางประการที่เป็นข้อจากัดต่อการใช้งาน พอลิเอทิลีนมีความแข็งแรงไม่เพียงพอ ทนความร้อนได้ต่ำ ต้านการซึมผ่านของแก๊สได้ไม่ดี และจุดติดไฟได้ง่าย พอลิเมอร์ที่เติมสารปรุงแต่งสามารถปรับปรุงคุณสมบัติของพอลิเมอร์ได้ โดยทั่วไปการเติมสารปรุงแต่งในพอลิเอทิลีนใช้สารปรุงแต่งขนาดไมโคร แต่ในช่วงที่ผ่านมาได้มีการนำสารปรุงแต่งที่มีขนาดนาโนมาใช้ ซึ่งพบว่า สารปรุงแต่งขนาดนาโนสามารถปรับปรุงคุณสมบัติของพอลิเอทีลีนได้ดีกว่า การเติมสารปรุงแต่งลงในพอลิเมอร์ เรียกว่า พอลิเมอร์ นาโนคอมโพสิท ในงานวิจัยนี้ศึกษาผลของการเติมสารปรุงแต่งนาโนเคลย์ต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาเซอร์โคโนซีนในปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีนรวมถึงศึกษาสมบัติของพอลิเอทิลีนเคลย์นาโนคอมโพสิทที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยวิธีอินซิทูพอลิเมอร์ไรเซชัน ซึ่งในงานวิจัยนี้เปรียบเทียบวิธีการเตรียมตัวรองรับของนาโนเคลย์ 2 ชนิด (อินซิทู และ เอกซิทู อิมเพรกเนชัน) และเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ระหว่างนาโนเคลย์ที่ไม่ได้ปรับปรุงกับนาโนเคลย์ที่ถูกปรับปรุงด้วยไซเลน พบว่าวิธีเตรียมตัวรองรับแบบอินซิทู อิมเพรกเนชันให้ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาสูงกว่าวิธีเอกซิทู อิมเพรกเนชัน นอกจากนั้นยังสามารถปรับปรุงสมบัติทางความร้อนได้ และนาโนเคลย์ที่ถูกปรับปรุงด้วยไซเลนให้ความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาสูงกว่า นาโนเคลย์ที่ไม่ได้ถูกปรับปรุง
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44943
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.699
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.699
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suwimon_po.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.