Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุผานิต เกิดสมเกียรติ-
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorสุภัทรา สุขปาณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-08T08:39:04Z-
dc.date.available2015-09-08T08:39:04Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45106-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractตลอดระยะเวลา 13 ปีแล้ว หลังจากที่ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ ณ ประเทศอิตาลี โดยที่อนุสัญญาดังกล่าวประกอบด้วยพิธีสารเพิ่มเติมอนุสัญญาอีกสามฉบับซึ่งได้แก่ พิธีสารเพื่อป้องกัน ปราบปรามและลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็ก, พิธีสารเพื่อต่อต้านการลักลอบขนผู้ย้ายถิ่นโดยทางบก ทะเล และอากาศ และพิธีสารเพื่อต่อต้านการผลิตและค้าอาวุธโดยผิดกฎหมาย ประเทศไทยก็ได้มีความพยายามที่จะปรับปรุงแก้ไขกฎหมายของไทยรวมถึงการออกพระราชบัญญัติเพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญาดังกล่าวไม่ว่าจะเป็น ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ. พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญาพ.ศ. 2544, พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองพ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 เป็นต้น แต่ทว่ากฎหมายของไทยที่ได้มีการแก้ไขแล้วนั้น ยังมีการระบุถึงการช่วยเหลือและเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมขององค์กรอาชญากรรมข้ามชาติที่ไม่สมบูรณ์และครบถ้วน ทำให้เหยื่ออาชญากรรมดังกล่าวที่ได้รับผลกระทบเกิดความเสียหายและเดือดร้อนจากการกระทำความผิดขององค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ และด้วยการบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ของประเทศไทยที่ยังไม่ครอบคลุมและยังไม่มีการจัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามารับผิดชอบดูแลโดยตรง ด้วยเหตุผลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นการเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมขององค์กรอาชญากรรมข้ามชาติยังไม่เป็นไปตามอนุสัญญาดังกล่าวระบุไว้en_US
dc.description.abstractalternativeFor 13 years, After Thailand signed the United Nations Convention Against Transnational Organized Crime 2000 at Italy and following three Protocols as follows ; Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Person, Especially Women and Children, the Protocol Against the Smuggling of Migrants by Land, Sea and Air and the Protocol to combat the production and trafficking of illegal weapons. Thailand had amended the law to comply with this Convention and three Protocols. But the laws of Thailand which are enacted to help and remedy the victims from Transnational Organized Crimes are not governed issues of Convention and Protocols. Those caused suffering to the victims. And enforcement of Thailand are not cover and without the establishment the relevant government authorities directly to response the victims. With the mentions above the remedies of victim of Thailand from Transnational Organized Crimes are not yet comply with the United Nations Convention Against Transnational Organized Crime 2000 above. After studying and analyzing, it can be found the laws and the enforcement of the law mechanism only not sufficient to resolve the problems to remedy the victims. Therefore, other measures and mechanism of Thai Government and private organization can play the significant roles in order to increase efficiency in remedy the victims of this Convention.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1263-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชญากรรมข้ามชาติ -- ไทยen_US
dc.subjectเหยื่ออาชญากรรมen_US
dc.subjectคนเข้าเมืองen_US
dc.subjectTransnational crime -- Thailanden_US
dc.subjectVictims of crimesen_US
dc.subjectImmigrantsen_US
dc.titleการเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมข้ามชาติที่ได้รับผลกระทบตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ.2000 : ศึกษากรณีการพัฒนากฎหมายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเยียวยาเหยื่ออาชญากรรมข้ามชาติของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRemedies for victims on transnational crime on United Nations convention against transnational crimes 2000 : a study of the law and practice of Thailand concerning the remedies of transnationalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1263-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supattra_su.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.