Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45248
Title: | การเล่าเรื่อง “บ้าน” ในงานเขียนร่วมสมัยของนักเขียนเยอรมันและนักเขียนเยอรมันเชื้อสายเติร์ก |
Other Titles: | Narrating "Home" in contemporary writings by German and Turkish-German writers |
Authors: | ชุติมา เกตุพงษ์ชัย |
Advisors: | ชุติมา ประกาศวุฒิสาร ถนอมนวล โอเจริญ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] [email protected] |
Subjects: | วรรณกรรมเยอรมัน การเล่าเรื่อง บ้าน ตัวละครและลักษณะนิสัยในวรรณกรรม German literature Narration (Rhetoric) Home Characters and characteristics in literature |
Issue Date: | 2555 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีเพื่อศึกษาเปรียบเทียบงานเขียนที่มีแก่นเรื่องพลัดถิ่นซึ่งสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครกับ “บ้าน” โดยนักเขียนเยอรมันและนักเขียนเยอรมันเชื้อสายเติร์ก และเพื่อเข้าใจบทบาทเรื่องเล่าในการประกอบสร้างอัตลักษณ์ของตัวละครชาวเติร์กพลัดถิ่นและชาวเยอรมันเชื้อสายเติร์กในงานเขียนที่คัดสรร โดยผลการวิจัยพบว่า งานเขียนภาษาเยอรมันที่มีแก่นเรื่องชาวเติร์กพลัดถิ่นเหล่านี้นำเสนอ “บ้าน” ว่ามีความสำคัญต่อการสร้างอัตลักษณ์ของตัวละครพลัดถิ่น อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครกับ “บ้าน” ที่ปรากฏในงานของนักเขียนเยอรมันสื่อให้เห็นความวิตกกังวลของชาวเยอรมันที่มีต่อกลุ่มชาวเติร์กพลัดถิ่น ในขณะที่การนำเสนอความสัมพันธ์ดังกล่าวในงานของนักเขียนเยอรมันเชื้อสายเติร์กสื่อให้เห็นว่าชาวเติร์กพลัดถิ่นเป็นส่วนหนึ่งของสังคมเยอรมันปัจจุบัน |
Other Abstract: | The objective of this thesis is to compare writings which contain diaspora subject and show the relationship between the characters and “Home” by German and Turkish-German writers and to understand the role of narrative in constructing identities of the diasporic Turkish and Turkish-German characters in the selected writings. The result of the research is that the German-language writings which contain Turkish diaspora subject represent “Home” as an important motif to help construct the identities of the diasporic characters. Nonetheless, the relationship between the characters and “Home” appeared in the writings by German writers show concerns of the German people toward the diasporic Turkish people, whereas the representation of the relationship in the writings by Turkish-German writers show that the diasporic Turkish people, in fact, belong to contemporary German society. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วรรณคดีเปรียบเทียบ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45248 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chutima_ka.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.