Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศen_US
dc.contributor.authorอภินันท์ ชวดชุมen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:23:02Z
dc.date.available2015-09-18T04:23:02Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46203
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractปัจจุบันได้มีหลายอุตสาหกรรมที่จะต้องออกแบบพื้นที่การทำงานให้เป็นแบบห้องสะอาด เพื่อควบคุมฝุ่นและสิ่งปนเปื้อน การใช้ห้องสะอาดมีต้นทุนทั้งต้นทุนด้านพลังงานระหว่างการใช้งานและต้นทุนจากการลงทุนแผ่นกรองอากาศในการกรองฝุ่นและสิ่งปนเปื้อน ผู้ออกแบบในปัจจุบันได้ใช้คู่มือในการออกแบบจากหลายๆสถาบัน เช่น สถาบัน Environmental Sciences and Technology (IEST) and Food and Drug Administration (FDA) ในการออกแบบระบบห้องสะอาด แต่คู่มือการออกแบบทั้งสองสถาบันนี้ แนะนำเพียงแค่อัตราการแลกเปลี่ยนอากาศภายในระบบที่เหมาะสมสำหรับสภาพอากาศต่างๆ โดยไม่ได้แนะนำประเภทของแผ่นกรองอากาศที่เหมาะในแต่ละอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ ทำให้ผู้ออกแบบต้องเลือกใช้แผ่นกรองอากาศตามความชำนาญและประสบการณ์ที่เคยมี ทำให้บางครั้งเลือกใช้แผ่นกรองอากาศที่มีคุณสมบัติเกินกว่าความต้องการหรือใช้แผ่นกรองอากาศที่มีคุณภาพต่ำ ทำให้ต้องเสียค่าพลังงานมากขึ้นในระหว่างการใช้งานเพื่อเพิ่มอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอแบบจำลองเชิงเส้นในการหาค่าความเหมาะสมที่สุดของการเลือกแผ่นกรองอากาศและกำหนดอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศเพื่อให้ต้นทุนรวมในการใช้ห้องสะอาดต่ำสุด และได้คุณภาพอากาศตามข้อกำหนดของผู้ใช้งาน ผลเฉลยที่ได้จากโปรแกรมนี้สามารถที่จะลดต้นทุนได้ประมาณ 20% เมื่อเทียบกับการเลือกใช้แผ่นกรองตามความชำนาญและประสบการณ์ นอกจากนี้เจ้าของโครงการหรือผู้รับเหมาสามารถที่จะใช้โปรแกรมนี้ในการเลือกแนวทางในการลดต้นทุนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อกำหนด รวมถึงเข้าใจหลักการออกแบบของห้องสะอาดมากขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays many industries need to design a clean room in a working area to control dust and contamination. Using a clean room leads to higher cost in term of filter investment to treat dust and power consumption during operation. Currently, designers use guidelines from many institutes such as the Institute of Environmental Sciences and Technology (IEST) and Food and Drug Administration (FDA) to design a clean room. However, these two institutes specify only guidelines of minimum air change rates for each specific level of cleanliness without recommending proper filter series for each air change rate. Clean room designers normally select filters that follow the guidelines based upon their skills and experiences. Many designers may select filter series which are over specification or low cost that leads to higher energy consumption cost during operation to increase the air change rate. This thesis proposes a linear programing model that selects proper filter series and determine air change rate to minimize the total cost based on the requirement of air quality from user. The solution from the program can reduce cost approximately 20% comparing to selecting filters based on skills and experiences. The owners or contractors can also use this program to consider the alternatives to reduce cost if the clean room regulation is changed. At the same time, this program provides a better understanding of a clean room design.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1087-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมฝุ่น
dc.subjectเครื่องกรองอากาศ
dc.subjectห้องสะอาด
dc.subjectการโปรแกรมเชิงเส้น
dc.subjectการโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์
dc.subjectDust control
dc.subjectAir filters
dc.subjectClean rooms
dc.subjectLinear programming
dc.subjectProgramming (Mathematics)
dc.titleระบบสนับสนุนการเลือกใช้แผ่นกรองอากาศสำหรับห้องสะอาดen_US
dc.title.alternativeAn air filter selection supporting system for a clean roomen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1087-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670987921.pdf4.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.