Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49056
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดิเรก ลาวัณย์ศิริ | - |
dc.contributor.author | สรวิศ นฤปิติ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-12T10:02:40Z | - |
dc.date.available | 2016-06-12T10:02:40Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745791482 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49056 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | en_US |
dc.description.abstract | การออกแบบแนวทางดิ่งมีจุดประสงค์ที่จะหาแนวเส้นทางที่มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด แนวเส้นทางที่ได้จากการออกแบบโดยวิศวกรอาจจะยังไม่ใช่แนวเส้นทางที่เหมาะสมที่สุด วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อพัฒนาวิธีออกแบบ และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบแนวทางดิ่งที่เหมาะสมที่สุด วิธีออกแบบพัฒนาขึ้นจากกระบวนการฮิวริสติค โดยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ในแต่ละขั้นตอนหาผลลัพธ์โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอนแรกเป็นการหาแนวทางดิ่งเบื้องต้นที่มีค่าใช้จ่ายน้อยและ สอดคล้องกับข้อกำหนดและข้อจำกัดของการออกแบบ ขั้นตอนที่สองเป็นการหาองค์ประกอบทางเรขาคณิตเริ่มต้นจากแนวทางดิ่งเบื้องต้น ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการหาองค์ประกอบทางเรขาคณิตที่เหมาะสมที่ให้แนวเส้นทางที่มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด แบบจำลองทางดิ่งเบื้องต้นเป็นการแปลงแบบจำลองแนวทางดิ่งที่เหมาะสมที่สุดให้เป็นแบบง่ายโดยใช้สมมติฐานค่าความสูงของดินตัดและดินถม และ หาผลลัพธ์โดยวิธีการโปรแกรมเชิงเส้นองค์ประกอบทางเรขาคณิตเริ่มต้นหาได้จากการสร้างวิธีการทางคณิตศาสตร์ที่จำลองการออกแบบของวิศวกรเพื่อหาจุดตัดแนวดิ่ง และ ความยาวโค้งเริ่มต้น แบบจำลององค์ประกอบทางเรขาคณิตที่เหมาะสมสร้างขึ้นเป็นแบบจำลองไม่เชิงเส้นใช้สำหรับหาแนวเส้นทางที่มีค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากปริมาณงานดินน้อยที่สุด และ หาผลลัพธ์โดยวิธีค้นหาโดยตรง จากนั้นนำวิธีออกแบบที่พัฒนาขึ้นมาเขียนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ นำมาทดสอบกับเส้นทางยาว 4.2 กิโลเมตรพบว่า สามารถลดค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากปริมาณงานดินลงได้มาก และช่วยให้ออกแบบรวดเร็วและได้เส้นทางที่เหมาะสมยิ่งขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | The vertical alignment design needs to minimize the alignment-related costs. The vertical alignment designed by engineers may not be the optimum. The objective of this research is to develop the design process and a computer program that assist the optimal vertical alignment design. The design process developed on the heuristic solution method is divided into 3 steps. The design problem in each step is represented by a mathematical model. The first step is to find the preliminary vertical alignment that minimizes cost while satisfying all relevant constraints. The second deals with the determination of the geometric configuration given by the preliminary alignment. The last step is to find the geometric configuration that yields the optimal alignment. The preliminary vertical alignment model is formulated by simplifying the optimal vertical alignment model and uses the linear programming to find the solution. The first geometric configuration is found from the mathematical method that is the engineer’s design simulation process and gives the initial points of vertical intersection and lengths of curve. The optimal geometric configuration model is formulated as nonlinear programming model for determining the lowest earthwork-volume alignment. The model is solved using the direct search method. The resulting design process is computerized and applied to a case study involving a 4.2-kilometer road. The result shows that the alignment can substantially reduce the earthwork-related cost and gives the appropriate alignment. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ถนน -- การออกแบบและการสร้าง | en_US |
dc.title | การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบแนวทางดิ่ง ที่เหมาะสมที่สุดของถนน | en_US |
dc.title.alternative | Computer aided optimal design of highway vertical alignment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.author | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sorawit_na_front.pdf | 7.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch1.pdf | 3.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch2.pdf | 11.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch3.pdf | 3.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch4.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch5.pdf | 9.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch6.pdf | 5.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_ch7.pdf | 4.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sorawit_na_back.pdf | 6.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.