Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยพลังงาน-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2016-10-28T06:42:38Z-
dc.date.available2016-10-28T06:42:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49691-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ดำเนินการพัฒนาแบบจำลองการใช้และการจัดหาพลังงานในภาพรวม โดยใช้แบบจำลองสมดุลและพัฒนาภาพเหตุการณ์การใช้และการจัดหาพลังงานของประเทศในกรณีอ้างอิง (Reference scenario) ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของรูปแบบและเป้าหมายเชิงนโยบายปัจจุบัน แบบจำลองดังกล่าวได้ถูกออกแบบมาให้มีความสอดคล้องกับฐานข้อมูลด้านการใช้และการจัดหาพลังงานของประเทศ นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังได้ดำเนินการศึกษาในประเด็นเฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับการศึกษาผลกระทบของการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มีต่อระบบการผลิตไฟฟ้าในแง่ของต้นทุนการผลิตและการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยได้ดำเนินการในลักษณะการฉายภาพอนาคตในอีกรูปแบบหนึ่งโดยพิจารณาถึงปัจจัยด้านการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อภาคการผลิตไฟฟ้า ผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงผลกระทบเพียงเล็กน้อยในเรื่องของต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงเมื่อมีการใช้พลังงานเพิ่มสูงขึ้นในระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศ อย่างไรก็ดีแม้ว่าพลังงานหมุนเวียนจะส่งผลทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงแต่ควรพิจารณาเป็นเพียงหนึ่งในกลไกที่ช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในภาพรวมและยังคงต้องพิจารณาทางเลือกอื่น ๆ ประกอบอย่างเต็มที่สำหรับการกำหนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศ นอกจากนี้การเร่งพัฒนาพลังงานหมุนเวียนในระยะสั้น จะช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกสะสมในระยะยาวได้อย่างมีนัยสำคัญ และจากการศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงราคาคาร์บอนในอนาคตที่ส่งผลกระทบของต้นทุนการผลิตไฟฟ้าชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนซึ่งจะมีต้นทุนใกล้เคียงกับต้นทุนเฉลี่ยของระบบไฟฟ้าที่ราคาคาร์บอนประมาณ 100-200 ยูโรต่อตันเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.description.abstractalternativeThe research aims to develop an energy demand and supply model to represent the overview of Thailand energy system. An energy accounting model has been utilized to simulate the future scenarios. A most-likely case called “Reference scenario” has been developed based on the prospect of current policy target achievement including the power development plan (PDP). The current model has been designed corresponding to the available national energy database. Furthermore, the current study also focuses on the selected issue, under the topic of “Assessment of Renewable Energy Penetration of Power Development Plan in Thailand”. An alternative scenario with higher market penetration of renewable energy has been comparatively simulated. The result indicate The results indicates that the incremental cost of RE-power is not significantly affect to the cost of entire power system. On the other hand, Re-powers should not be considered as a single dependable option for the GHG mitigation target in power sector. However, the early RE-power project implementation will multiply the contribution of GHG mitigation in the long run. In addition, the sensitivity analysis of carbon price indicate that the cost of RE-power would reduce to the level of the averaged cost of country power system at carbon price approximately 100-120 EUR per ton CO₂ equivalent.en_US
dc.description.sponsorshipกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ปี 2554en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลังงาน -- ไทยen_US
dc.subjectการพัฒนาพลังงาน -- แบบจำลองen_US
dc.subjectการพัฒนาพลังงาน -- ไทยen_US
dc.subjectการใช้พลังงาน -- แบบจำลองen_US
dc.subjectการใช้พลังงาน -- ไทยen_US
dc.subjectการผลิตพลังงานไฟฟ้า -- ไทยen_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองการใช้และการจัดหาพลังงานของไทย : รายงานการวิจัยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Thailand energy demand and supply modelen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.author[email protected]-
dc.discipline.code1202en_US
Appears in Collections:Energy - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Veerin_va_2554.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.