Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49787
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทรดร ภิญโญพิชญ์-
dc.contributor.authorวิเชฏฐ์ คนซื่อ-
dc.contributor.authorผุสตี ปริยานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-11-28T04:41:13Z-
dc.date.available2016-11-28T04:41:13Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49787-
dc.description.abstractปัญหาการดื้อยาปฏิชีวนะโดยเฉพาะในเชื้อแบคทีเรีย ทำให้มีความพยายามในการหาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่น ๆ ที่สามารถนำมาใช้ทดแทนยาปฏิชีวนะได้ หนึ่งในสารที่มีการวิจัยกันอย่างกว้างขวาง คือ เปปไทด์ต้านจุลชีพ ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด เปปไทด์ต้านจุลชีพพบได้ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แต่มีรายงานพบมากในสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดยเฉพาะในกลุ่มกบ งานวิจัยนี้มุ่งค้นหายีนที่กำหนดการสร้างเปปไทด์ต้านจุลชีพ จากกบหลังไพล (Rana lateralis) เพื่อจะสามารถทำนายลำดับของเปปไทด์ที่ได้ และประเมินความเป็นไปได้ในการใช้เปปไทด์ที่ค้นพบในการบำบัดรักษาโรคติดเชื้อ ผลการทดลองพบว่า เปปไทด์ RQ1 ซึ่งมีลำดับกรดอะมิโน ILPLLAGLVHGLSSIFGK ประจุสุทธิ +2 ความยาว 18 กรดอะมิโน ซึ่งอาจจัดไว้ในกลุ่ม Temporins มีคุณสมบัติยับยั้งการเจริญของเชื้อแกรมบวกได้ดีกว่าแกรมลบ (MIC สำหรับเชื้อ Staphylococcus aureus และ Bacillus cereus มีค่าเท่ากับ 25 µM และ 50 µM ตามลำดับ) แต่ยังมีค่าความเป็นพิษต่อเซลล์เม็ดเลือดแดงสูง (HC50 = 60 µM) ดังนั้น การนำมาพัฒนาต่อเป็นยา อาจจำเป็นต้องมีดัดแปลงลำดับของกรดอะมิโนก่อนนำไปใช้en_US
dc.description.abstractalternativeAntibiotic resistance, especially in bacteria has motivated scientists to find novel bioactive compounds which may be used as antibiotic alternative. One of the most promising agents is antimicrobial peptide (AMP) which is a part of innate immune response. AMPs can be found virtually in all organisms but there are abundant in amphibians especially in frogs. This work focused on cloning AMP genes from Rana lateralis in order to get the sequence of putative peptides which were used for peptide synthesis. To assess therapeutic potential, each synthetic peptide was then used for antimicrobial peptide assay and hemolytic assay. The result indicated that 18-residue peptide RQ1 (ILPLLAGLVHGLSSIFGK) which has +2 net charge may be classified into Temporin family. This peptide can inhibit gram positive bacteria better than gram negative bacteria (MIC for Staphylococcus aureus and Bacillus cereus were 25 µM and 50 µM respectively). However, toxicity toward red blood cell was relatively high (HC50 = 60 µM). Thus, change of some amino acid sequence through peptide engineering is needed.en_US
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2554en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเปปไทด์ต้านจุลชีพen_US
dc.subjectสารต้านจุลชีพen_US
dc.subjectสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำen_US
dc.subjectปฏิชีวนะ -- การสังเคราะห์en_US
dc.subjectการโคลนยีนen_US
dc.subjectโคลนิงen_US
dc.titleการโคลนยีนกำหนดการสร้างเปปไทด์ ต้านจุลินทรีย์จากสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก การใช้ประโยชน์ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริen_US
dc.title.alternativeMolecular cloning of antimicrobial peptide genes from amphibians and applicationsen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.email.author[email protected]-
dc.discipline.code0110en_US
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pataradawn_pi_2554.pdf878.69 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.