Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorRaksarn Wiwatsinudomen_US
dc.contributor.authorShayang Xiongen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Artsen_US
dc.coverage.spatialThailand
dc.date.accessioned2016-11-30T05:39:54Z-
dc.date.available2016-11-30T05:39:54Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49947-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractIn this thesis, a study was made of the film “Lost in Thailand” to explore the relationship between “Lost in Thailand” and its shooting location –Thailand. There are two objectives included in this thesis. To identify scenes and subjects represent “Thai” and to analyze elements being highlighted in the movie that Chinese audiences find attractive. The theory of Intercultural Communication was applied to analyze how “Lost in Thailand” presents “Thai images” to the Chinese audience and how the “Thai images” shown in the movie attract Chinese people to travel to Thailand. In this research, the questionnaire method was used to conduct a survey of 103 Chinese Thailand-visiting tourists and 117 Thai audience members who had watched “Lost in Thailand”. Questionnaires were designed to investigate the overall satisfaction of the Chinese and Thai audiences with the movie, their acceptance of “Thai images”, as well as their views on the driving effect of this movie on Thai tourism. A rolling on-piece analysis of “Lost in Thailand” was done to select out scenes and subjects that represent the “Thai”. As a result, There are 14 significant scenes that were extracted out, And Thai images being highlighted in these scenes were also distributed into 7 categories: (1) Cityscape and tourist facilities (2)Third gender (3) Thai Massage and Spa (4) Thai Buddhism (5) Natural Scenery (6)Thai boxing and (7) Sex industry. Survey results show an overall satisfaction of the Chinese and Thai audience with “Lost in Thailand”. And findings as follow: In the survey of Chinese tourists, Chinese tourists’ evaluation for this film is 85.5%. “Cityscape and tourist facilities” “Natural Scenery” and “Thai Buddhism” are Top 3 for that both “the most impressive when Chinese audiences viewed the movie” and “give Chinese audiences an idea of travelling to Thailand”. Survey results of the Thai audience showed the Thai audience’s evaluation is 63.5%. “Cityscape and tourist facilities” and “Natural Scenery” this two “Thai Images” are considered as “the images that can give Chinese tourists an idea of what to explore when travelling to Thailand”en_US
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ศึกษาภาพยนตร์เรื่อง “แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์” เพื่อศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อเรื่องของภาพยนตร์ และสถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ซึ่งก็คือประเทศไทย โดยในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ ที่เกี่ยวข้องกับฉากในภาพยนตร์ ที่ถ่ายทอด “ภาพลักษณ์ความเป็นไทย” และองค์ประกอบของภาพยนตร์ซึ่งเป็นจุดดึงดูดความสนใจจากผู้ชมภาพยนตร์ชาวจีนที่ได้รับชมภาพยนตร์เรื่องนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำทฤษฎีของการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์ว่าภาพยนตร์เรื่อง “แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์” ได้นำเสนอภาพลักษณ์ความเป็นไทยสู่สายตาของผู้ชมชาวจีนอย่างไร และในภาพลักษณ์ความเป็นไทยซึ่งถูกถ่ายทอดผ่านทางภาพยนตร์เรื่องนี้ มีผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวจีนให้เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยได้อย่างไร งานวิจัยนี้ได้นำผลการตอบแบบสอบถามของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย จำนวนทั้งสิ้น 103 คน และประชาชนชาวไทยที่ได้รับชมภาพยนตร์เรื่องนี้จำนวนทั้งสิ้น 117 คน แบบสอบถามดังกล่าวถูกออกแบบมาเพื่อวัดความพึงพอใจโดยรวมของนักท่องเที่ยวชาวจีนและ ผู้ชมภาพยนตร์ชาวไทยต่อภาพยนตร์เรื่องนี้ โดยกลุ่มผู้ที่ให้ข้อมูลในแบบสอบถาม ยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่า ภาพลักษณ์ความเป็นไทยในภาพยนตร์เรื่องนี้ มีแรงผลักดันต่อการท่องเที่ยวในประเทศไทยเป็นอย่างมาก โดยในเนื้อหาของภาพยนตร์เรื่อง “แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์” มีฉากต่างๆซึ่งแทนความเป็นไทยในหลายๆฉาก โดยมีฉากสำคัญที่แสดงถึงความเป็นไทย ประมาณ 14 ฉาก โดยสำคัญเหล่านี้สามารถแบ่งได้ 7 ประเภท ได้แก่ (1) ภาพของที่สถานที่ท่องเที่ยวและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว (2) เพศที่สาม (3) สปาและการนวดแผนไทย (4) พระพุทธศาสนาแบบไทย (5) ทิวทัศน์ธรรมชาติ (6) มวยไทย (7) ธุรกิจทางเพศ โดยผลสำรวจได้ชี้ถึงความพึงพอใจโดยรวมของนักท่องเที่ยวชาวจีนและผู้ชมภาพยนตร์ชาวไทยที่มีต่อภาพยนตร์ “แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์” ดังต่อไปนี้ นักท่องเที่ยวชาวจีน ได้ประเมินคะแนนโดยรวมของภาพยนตร์ ไว้ที่ 85.5%. ภาพของที่สถานที่ท่องเที่ยวและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว ,สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ พระพุทธศาสนาแบบไทย ซึ่งทั้ง 3 อันดับ เป็นสิ่งที่ประทับใจนักท่องเที่ยวชาวจีที่ได้รับชมภาพยนตร์เรื่องนี้มากที่สุด และเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้ชมชาวจีนมาท่องเที่ยวในประเทศไทย ผลสำรวจของผู้ชมภาพยนตร์ชาวไทยให้คะแนนโดยเฉลี่ยของภาพยนตร์อยู่ที่ 63.5% โดยผู้ชมชาวไทยเชื่อว่า ภาพของที่สถานที่ท่องเที่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว และ ทิวทัศน์ธรรมชาติ ทำให้นักท่องเที่ยวชาวจีนเห็นสิ่งที่พวกเขาจะได้พบเมื่อมาท่องเที่ยวในประเทศไทยen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.78-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectMotion pictures
dc.subjectIntercultural communication
dc.subjectThailand -- Description and travel
dc.subjectภาพยนตร์
dc.subjectการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
dc.subjectไทย -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว
dc.titleREPRESENTING THE "THAI" IN LOST IN THAILAND: ANALYSIS OF ITS ATTRACTION FOR CHINESE TOURISTSen_US
dc.title.alternativeภาพแทน"ไทย" ใน เเก๊งม่วนป่วนไทยเเลนด์: การวิเคราะห์องค์ประกอบที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวจีนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineThai Studiesen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.78-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5580339822.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.