Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50277
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เนาวนิตย์ สงคราม | en_US |
dc.contributor.author | พิสิฐ แย้มนุ่น | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-01T08:04:02Z | |
dc.date.available | 2016-12-01T08:04:02Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50277 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบประเมินรูปแบบ เว็บไซต์การศึกษานอกสถานที่เสมือน แผนการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นในการเรียนด้วยรูปแบบ แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ Cornell Critical Thinking Test Level z วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบฯ ที่พัฒนาขึ้น มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การกำหนดวัตถุประสงค์ของกิจกรรม 2) ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ 3) สื่อการเรียนการสอน 4) การประเมินผล โดยมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นกำหนดประเด็นปัญหาและสมมุติฐาน 2) ขั้นรวบรวมข้อมูลหลักฐาน 3) ขั้นวิเคราะห์และตีความข้อมูล 4) ขั้นสรุปและนำเสนอ ผลการทดลองใช้รูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research study were (1) to develop a virtual field trip using historical method, (2) to try out a virtual field trip using historical method, (3) to propose virtual field trip using historical method to enhance critical thinking ability of upper level secondary students. The subjects in the model experiment were 30 students from the upper secondary school students. The research instruments consisted of an expert interview form, a model evaluation form, a virtual field trip website, and a lesson plan. The data gathering instruments consisted of an observation form, student’s satisfaction towards the model test questionnaire, and a critical thinking test. The data were analyzed using mean, standard deviation and t-test dependent. The research results indicated that: The developed model consisted of four components as follows: (1) Objectives of the activity, (2) Learning management system, (3) Instruction media and (4) Evaluation. The steps of virtual field trip using historical method consisted of four steps as follows: (1) State issues and hypotheses, (2) Collect data and evidence, (3) Data analysis and interpretation and (4) Conclusion and presentation. The experimental result indicated that the subjects had critical thinking ability post-test mean scores higher than pre-test mean scores at .05 level of significance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1240 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย | |
dc.subject | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ | |
dc.subject | การเรียนการสอนผ่านเว็บ | |
dc.subject | High school students | |
dc.subject | Critical thinking | |
dc.subject | Web-based instruction | |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย | en_US |
dc.title.alternative | The development of virtual field trip using historical method to enhance critical thinking ability of upper level secondary students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected],[email protected],[email protected] | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1240 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5583466327.pdf | 4.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.