Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภินันท์ สุทธิธารธวัชen_US
dc.contributor.authorณัฐกมล แสงทองยิ่งดีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:07:33Z
dc.date.available2016-12-01T08:07:33Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50441
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractยางธรรมชาติถูกใช้เป็นสารตัวเติมในอุตสาหกรรมพอลิเมอร์เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นให้แก่พอลิเมอร์เมทริกซ์ ผงยางธรรมชาติไม่สามารถเตรียมได้โดยตรงเนื่องจากคุณสมบัติด้านการเหนียวติดกันของยางธรรมชาติ การนำพอลิเมทิลเมาทาคริเลตมากราฟต์บนอนุภาคยางธรรมชาติสามารถป้องกันการเกาะติดกันของยางผงได้ ซึ่งผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่งระหว่างยางธรรมชาติและพอลิเมทิลเมทาคริเลต สามารถเตรียมได้จากกระบวนการกราฟต์โคพอลิเมอร์แบบคอร์-เชลล์อิมันชัน และกระบวนการอบแห้งแบบพ่นฝอย โดยงานวิจัยนี้ศึกษาปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อการเตรียมผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่ง ได้แก่ ลำดับการเติมสาร ปริมาณตัวริเริ่มปฏิกิริยา ปริมาณมอนอเมอร์ และเวลาที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา โดยศึกษาจากค่าประสิทธิภาพการกราฟต์ซึ่งหาได้จากการทำการสกัดด้วยตัวทำละลายที่เหมาะสม และลักษณะสัญฐานของผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่ง จากการศึกษาพบว่าพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่งที่เกิดขึ้นมีลักษณะเป็นคอร์-เชลล์ ทำให้ผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่งที่เตรียมได้ไม่เกิดการเกาะติดกันเหมือนกับยางธรรมชาติผง จากการศึกษาพบว่าสภาวะในการทำปฏิกิริยาเพื่อให้ได้ผงที่มีปริมาณยางธรรมชาติมากที่สุดและไม่เกาะติดกัน คือ ปริมาณตัวริเริ่มปฏิกิริยา 1 phr และปริมาณเมทิลเมทาคริเลตมอนอเมอร์ 25 phr โดยใช้เวลาในการทำปฏิกิริยา 3 ชั่วโมง และเมื่อนำผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่งที่เตรียมได้ผสมกับพอลิเเลคติกแอซิด พบว่าผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่งสามารถเพิ่มคุณสมบัติการทนต่อแรงกระแทกของพอลิเมอร์ผสมได้en_US
dc.description.abstractalternativeNatural rubber is used as an additive in polymer industries for improvement of ductility and impact strength of polymer matrix. Natural rubber could not be directly produced because of their inherit properties that were adhered together. Grafting methyl methacrylate onto the natural rubber particle could prevent their sticky. Grafting copolymer was prepared by core-shell emulsion polymerization and spray drying. The effect of feeding order, initiator content, monomer content and reaction time were investigated by grafting efficiency and morphology. It was found that grafting methyl methacrylate onto natural rubber particle could produce natural rubber powder. The condition that could prepare greater natural rubber power contains initiator 1.0 phr, MMA 25 phr and reaction time 25 phr. The grafting copolymer natural rubber/polymethyl methacrylate powder could improve the impact strength of polylactic acid matrix.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1287-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยาง
dc.subjectกราฟต์โคโพลิเมอร์
dc.subjectโพลิเมทิลเมทาคริเลต
dc.subjectRubber
dc.subjectGraft copolymers
dc.subjectPolymethylmethacrylate
dc.titleการเตรียมผงพอลิเมอร์ร่วมแบบต่อกิ่งระหว่างยางธรรมชาติและพอลิเมทิลเมทาคริเลตด้วยวิธีการอบแห้งแบบพ่นฝอยen_US
dc.title.alternativePreparation of graft copolymer natural rubber/polymethyl methacrylate powder by spray dryingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1287-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770161921.pdf7.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.