Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดา ธนิตกุลen_US
dc.contributor.authorชุตินาถ บุญญาอดุลยกิจen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:06:59Z-
dc.date.available2016-12-02T02:06:59Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50940-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ 2542 มาตรา 29 และมาตรา 25 (4) มิได้กำหนดหลักเกณฑ์พฤติกรรมที่เข้าข่ายเป็นความผิดอย่างชัดเจน มีเพียงแนวปฏิบัติที่ออกโดยคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าที่ใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาพฤติกรรมที่อาจเข้าข่ายการกระทำความผิดซึ่งไม่มีสถานะเป็นกฎหมาย ทำให้เกิดปัญหาว่าการกระทำใดเข้าข่ายเป็นความผิดตาม มาตรา 29 และมาตรา 25 (4) ผลสรุปจากการศึกษาทำให้ผู้วิจัยมีความเห็นว่าจากการที่ทั้งมาตรา 29 และมาตรา 25 (4) ยังไม่มีความชัดเจนว่าการกระทำตามกรณีศึกษากล่าวคือ การจัดรายการส่งเสริมการขายโดยใช้และอ้างอิงชื่อของคู่แข่งในการโฆษณาและการใช้เครื่องมือในการส่งเสริมการขายของคู่แข่งมาใช้ในการจัดรายการส่งเสริมการขายของตนเองเป็นความผิดตามมาตราดังกล่าวหรือไม่ โดยมีแนวความเห็นของนักวิชาการแบ่งเป็น 2 แนวความเห็น โดยแนวความเห็นแรกเห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวถือเป็นความผิด เนื่องจากไม่มีความจำเป็นที่ต้องจัดรายการส่งเสริมการขายโดยอ้างอิงชื่อ และใช้เครื่องมือในการส่งเสริมการขายของผู้อื่น และแนวความเห็นที่สองเห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวมิใช่การกระทำที่เป็นความผิด เป็นเพียงกลยุทธ์การแข่งขันอย่างหนึ่งที่มุ่งเน้นแข่งขันด้านราคา และทำให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความชัดเจนและเกิดประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายแข่งขันทางการค้ามากขึ้น จึงควรปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรมีการกำหนดคำนิยามของคำว่าการกระทำอันมิใช่การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมและคำว่าการแทรกแซงให้ชัดเจน และทำให้แนวปฏิบัติมีสถานะเป็นกฎหมาย และเพิ่มอำนาจให้คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ามีอำนาจกำหนดลักษณะพฤติกรรมที่คณะกรรมการเห็นว่าเข้าข่ายเป็นการกระทำความผิดได้เพื่อให้ครอบคลุมลักษณะพฤติกรรมความผิดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThe Trade Competition Act B.E. 2542 Section 29 and Section 25(4) have not clearly specified the criteria of the action of business operator that is considered illegal. However, there are only guidelines rendered by trade competition committee which can be used as a scope for considering a business operator’s action that may be illegal. However, such guidelines are not considered as laws. Consequently, this creates the concerning problems that what action of business operator will be considered illegal under Section 29 and Section 25(4). From the research, the writer views that it is uncertain whether the action of business operator in the case study such as using sales promotion of other business operator or using other business operator name in its own sales promotion will be considered illegal under Section 29 and Section 25(4) or not. In this regard, there are two different academic opinions. The first opinion is that such practices are illegal because it is not necessary to use sales promotion of other business operator or other business operator name in its own sales promotion. The second opinion is that such practices are not illegal because it is only its business strategy to compete against other business operator on products’ price and consumers will be beneficial from such competition. Therefore, to achieve clarity and effective of trade competition law enforcement, the writer suggests that the trade competition laws should be amended, especially, by specifying definitions of unfair trade practice as well as intervention and the guidelines rendered by trade competition committee should be considered as laws. In addition, the trade competition committee should be authorized and empowered to have a power and authority to determine and specify any action that the committee views as illegal to cover business operator’s action in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการกระทำอันมิใช่การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมตามพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 : ศึกษากรณีการส่งเสริมการขายโดยใช้รายการส่งเสริมการขายของคู่แข่งในคดี บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)en_US
dc.title.alternativeUNFAIR TRADE PRACTICE PURSUANT TO TRADE COMPETITION ACT B.E. 2542 : STUDIES ON USAGE SALES PROMOTION OF COMPETITOR IN BIG C SUPERCENTER PUBLIC COMPANY LIMITED CASEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected],[email protected]en_US
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5685965634.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.