Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5100
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหรรษา ปุณณะพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorมุกดา คูหิรัญ-
dc.contributor.authorพิสุทธิ์ พวงนาค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-12-21T06:46:42Z-
dc.date.available2007-12-21T06:46:42Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743348905-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5100-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการชักนำให้เกิดการกลายใน Acrophialophora sp. เพื่อเพิ่มการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสด้วย 3 วิธี คือ การใช้แสงอัลตราไวโอเลต การใช้สาร N-methyl-N'-nitro-N-nitrosoguanidine (NTG) และการใช้แสงอัลตราไวโอเลตร่วมกับ NTG การคัดเลือกสายพันธุ์กลายขั้นพื้นฐานทำโดยการเลี้ยงบนอาหารสูตร CMC ที่มี cycloheximide จากนั้นนำสายพันธุ์กลายที่ให้ความสามารถในการผลิตเซลลูเลสได้สูงสุดที่ระดับ 10% มาทดสอบหาความสามารถในการผลิตเซลลูเลสในอาหารเหลวสูตร production เปรียบเทียบกับ Acrophialophora sp. สายพันธุ์ดั้งเดิมและ Trichoderma reesei QM9414 ซึ่งเลี้ยงที่อุณหภูมิ 30 และ 40 องศาเซลเซียส พบว่า สายพันธุ์กลาย UV10-14 ให้ค่าแอคติวิตีของเอนไซม์ exoglucanase สูงกว่า Acrophialophora sp. สายพันธุ์เดิมเป็น 2 เท่า และสูงกว่า T.reesei QM9414 ซึ่งเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียสเป็น 4 เท่า จากการศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการผลิต exoglucanase ของ Acrophialophora sp. สายพันธุ์กลาย UV10-14 พบว่า อาหารเลี้ยงเชื้อซึ่งประกอบด้วย 3 เปอร์เซ็นต์ CMC เป็นแหล่งคาร์บอน 0.08 เปอร์เซ็นต์ แอมโมเนียมซัลเฟต เป็นแหล่งไนโตรเจน โดยมี pH เริ่มต้นเท่ากับ 5.0 และเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ให้ค่าแอคติวิตีของเอนไซม์สูงสุด 0.076 หน่วยต่อมิลลิลิตรen
dc.description.abstractalternativeInduced mutation in Acrophialophora sp. for increased cellulase production was carried out using 3 methods: ultraviolet (UV) light, N-methyl-N'-nitro-N-nitrosoguanidine (NTG) treatment, and a combination of both UV and NTG. Mutants were screened on CMC agar medium containing cycloheximide. Top 10% cellulase producing mutants were then tested for cellulase production ability in liquid production medium in comparison with the wild type Acrophialophora and Trichoderma reesei QM9414 at 30 and 40 ํC. Acrophialophora mutant strain UV10-14 exhibited an increase in exoglucanase activity, doubled that of the wild type Acrophialophora and quadrupled that of T. reesei QM9414 at 40 ํC. Optimization study to find appropriate conditions for exoglucanase production in Acrophialophora mutant strain UV10-14 revealed that a culture medium containing 3% CMC as the sole carbon source, 0.08% ammonium sulfate as the nitrogen source, with an initial pH of 5.0, at 40 ํC, gave maximum enzyme activity of 0.076 U/ml.en
dc.format.extent6243628 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเชื้อราen
dc.subjectการกลายพันธุ์en
dc.subjectเซลลูเลสen
dc.titleการกลายพันธุ์ของรา Acrophialophora sp. ที่ย่อยสลายเซลลูโลสen
dc.title.alternativeMutation of a cellulolytic fungus Acrophialophora sp.en
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางชีวภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pisut.pdf6.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.