Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวรรณ ปิลันธน์โอวาท-
dc.contributor.authorกฤษณะ นาคประสงค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิืทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-12-27T09:00:55Z-
dc.date.available2007-12-27T09:00:55Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741756496-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5186-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์ สถานการณ์ ข้อจำกัด รูปแบบและผลของการสื่อสารการเมือง เพื่อกอบกู้เอกราช รักษาพระราชอำนาจ ขยายพระราชอาณาเขต และทำนุบำรุงกรุงศรีอยุธยา ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ใช้การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical approach) ควบคู่ไปกับการวิเคราะห์ตัวบท (Textual analysis) และการวิเคราะห์ปริบท (Contextual analysis) โดยจะศึกษาจากเอกสาร เช่น พระราชพงศาวดาร พงศาวดาร จดหมายเหตุชาวต่างชาติ พระนิพนธ์ บทความ และเอกสารอ้างอิงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มารวบรวมเพื่อทำการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ และข้อจำกัดทางการเมือง ทั้งภายในและภายนอกกรุงศรีอยุธยา ส่งผลให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงต้องใช้การสื่อสารในการตอบโต้สถานการณ์ และข้อจำกัดทางการเมืองเหล่านั้น โดยรูปแบบของการสื่อสารทางการเมืองที่พระองค์ทรงใช้ ได้แก่ การสื่อสารเพื่อการจัดการ การสื่อสารโน้มน้าวใจ การสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ การสื่อสารในเชิงสัญลักษณ์ (สัญญะ) เป็นต้น โดยรูปแบบที่พบมากที่สุด คือ รูปแบบการสื่อสารโน้มน้าวใจ โดยใช้จุดจูงใจในความ "เด็ดเดี่ยว" ของพระองค์ และผลของการสื่อสารการเมือง ทำให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงสามารถกอบกู้เอกราช รักษาไว้ซึ่งพระราชอำนาจ และมีพระราชอาณาเขตกว้างใหญ่ รวมทั้งทำนุบำรุง ฟื้นฟูกรุงศรีอยุธยาให้เจริญรุ่งเรืองดังเดิมen
dc.description.abstractalternativeThis research aims to analyze situations, constraints, and methods of thinking together with the results of political communication that King Naresuan the Great used for retrieving and protecting Thailand's independence, expanding territories, as well as maintaining Ayutthaya. The qualitative research, historical approach, textual and contextual analysis were undertaken to exammine document such as historical records, gazettes, and royal letters. The results indicated that internal and external restrictions of political environment of Ayutthaya pressed King Naresuan the Great to utilize political communication to avoid the harsh situations. The communicative approaches used included management communication, persuasive communication, public relations communication, and sign communication. The communicative methods that had been frequently used by King Naresuan were persuasive communication in which represented the brevity of the king and political communication which resulted in maintaining Thailand's independence and his power which expanded the kingdom as well as spread the glory of Ayutthaya.en
dc.format.extent1908062 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.817-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนเรศวรมหาราช, สมเด็จพระ, 2098-2148en
dc.subjectการสื่อสารทางการเมืองen
dc.subjectไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงศรีอยุธยา, 1893-2310 -- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, 2098-2148en
dc.subjectการสื่อสารทางการเมืองen
dc.titleการสื่อสารการเมืองของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชen
dc.title.alternativePolitical communication of King Naresuan the Greaten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวาทวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.817-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kritsana.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.