Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52361
Title: The Thailand mechanism in conflict management during flood response and relief : a case study of conflict related to Klong Mahasawat
Other Titles: การจัดการความขัดแย้งของประเทศไทยที่เกิดขึ้นระหว่างการจัดการน้ำท่วมและการบรรเทาทุกข์ : กรณีศึกษาความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับคลองมหาสวัสดิ์
Authors: Pongsanphet Suntivechatarm
Advisors: Prapart Pintobtang
Man Purotaganon
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Political Science
Advisor's Email: [email protected],[email protected]
[email protected]
Subjects: Floods
Disaster relief
Conflict management
น้ำท่วม
การบรรเทาสาธารณภัย
การบริหารความขัดแย้ง
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study aims to identify mechanisms in conflict management during flood response and relief in 2011 where the study will focus on the conflict that occurred during flood in 2011of the area or related to Klong Mahasawat as the conflict scene. It also explores the potential regulatory for the management of conflict at the sluicegate including the analysis of Administrative Court’s order to be used as conflict management tool. The qualitative approach is used in this study, utilizing documentary analysis and in-depth interviewing of key informants from government institutions, related organizations, and affected people including people who live upstream and downstream of sluicegates. This study use stages of conflict to be a key of analysis of management mechanisms in three principles; authorities’ leadership, people participation, and information sharing. This study reveals that the three principles are interconnected and very important to alleviate conflict during flood response and relief where conflict occurred because of flood management rather than natural phenomenon. The leadership is the main factor that contributed and influenced to another two aspects as the leader is the key to enhance people participation and sharing of information that related to conflict and flood management. The official leaders who are in charge of disaster management must be very active and knowledgeable on their duties, especially during the time of conflict that all efforts of determination solely bear under their responsibilities. The leadership at community level is very capable and effective to conflict resolution and significantly contributed to support another two aspects as information sharing and people participation. The study has shown that the notion of people’s participation as public consultation in such measures of flood management should have done comprehensively especially during preventive phase to safeguard any impediments derived during the flood response and relief. The information sharing is a unique reason to reduce conflict, but it must be in clearly, precisely and timely manner. The Administrative Court’s order is very important to uphold the duty and responsibility of all involved parties. However, the order should be observed seriously by the public for its enforcement.
Other Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษากระบวนการบริหารความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างการจัดการน้ำท่วมและขั้นตอนการบรรเทาความเดือดร้อนในเหตุการณ์น้ำท่วมประเทศไทยในปีพ.ศ.2554 โดยใช้เหตุการณ์ความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับคลองมหาสวัสดิ์ เป็นกรณีศึกษานอกจากนั้นยังศึกษาแนวทางความเป็นไปได้ในการบริหารจัดการความขัดแย้งในการบริหารจัดการประตูระบายน้ำ โดยมีกรณีศึกษาจากแนวทางของคำพิพากษาของศาลปกครองด้วย งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยกรณีศึกษาเชิงคุณภาพซึ่งใช้การวิเคราะห์ข้อมูลของเอกสารรวมถึงการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของรัฐ องค์กรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประชาชนที่ได้ผลกระทบจากการบริหารจัดการน้ำท่วม และประชาชนที่อยู่อาศัยด้านบนและด้านล่างประตูระบายน้ำโดยการศึกษาวิเคราะห์นี้จะใช้หลักของการเกิดความขัดแย้งมาวิเคราะห์ร่วมกับ3ตัวแปรที่จะสามารถจัดการความขัดแย้งคือภาวะผู้นำขององค์กรที่มีหน้าที่บริหารจัดการน้ำท่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนและการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ผลการจากศึกษาแสดงให้เห็นว่าตัวแปรทั้งสามประการดังกล่าวมีความสัมพันธ์และมีความสำคัญในการบริหารจัดการความขัดแย้งได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์น้ำท่วมนั้นเป็นสภาวะความขัดแย้งของประชาชนต่อการบริหารจัดการน้ำท่วมของภาครัฐโดยภาวะผู้นำขององค์กรที่มีหน้าที่บริหารจัดการน้ำท่วมจะมีบทบาทหลักและส่งผลต่อการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารซึ่งภาวะผู้นำที่ต้องการคือการทุ่มเททำงานอย่างเต็มที่มีองค์ความรู้ในการบริหารจัดการน้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีศิลปะในการบริหารจัดการความขัดแย้งได้ด้วย ทั้งนี้ภาวะผู้นำในระดับท้องถิ่นจะสามารถเป็นกลไกในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้เป็นอย่างดีในกรณีภาวะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการความขัดแย้งนั้นพบว่าหากได้มีการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่ขั้นตอนการกำหนดมาตรการป้องกันน้ำท่วมหรือการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกขั้นตอนของการบริการจัดการน้ำท่วมจะสามารถลดเงื่อนไขของการเกิดความขัดแย้งขึ้นได้ ส่วนการสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารนั้นถ้าได้ดำเนินการอย่างชัดเจนถูกต้องครบถ้วนและรวดเร็วก็จะสามารถลดปัญหาการเกิดความขัดแย้งได้เช่นกัน ทั้งนี้ภาวะผู้นำจะเป็นตัวขับเคลื่อนในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสร้างการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคํยต่อการบริหารจัดการความขัดแย้งได้เป็นอย่างดี การศึกษาบทบาทของศาลปกครองในแก้ปัญหาความขัดแย้งในการบริหารจัดการน้ำท่วมนั้น ก่อให้เกิดการยอมรับในหมู่ประชาชน แต่กระบวนการตรวจสอบการบังคับคำพากษายังคงมีปัญหาอยู่เพราะการดำเนินการตามคำพิพากษาของศาลกรณีการเปิดประตูระบายน้ำเป็นผลที่ได้มาจากการเจรจาของหน่วยงานหรือผู้ที่มีหน้าที่ ไม่มีการตรวจสอบจากภาคประชาชนหรือบุคคลอื่นที่สามารถทำให้การบังคับด้วยคำสั่งศาลปกครองมีประสิทธิภาพที่ชัดเจน
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Development Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52361
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1651
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1651
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5781217224.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.