Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสรีช์ โพธิแก้ว-
dc.contributor.advisorแม่ชีวิมุตติยา (สุภาพรรณ ณ บางช้าง )-
dc.contributor.authorเพริศพรรณ แดนศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2017-06-27T08:49:07Z-
dc.date.available2017-06-27T08:49:07Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53156-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของกลุ่มโยนิโสมนสิการที่มีต่อปัญญาในภาวะความสัมพันธ์เชื่อมโยงและภาวะความเปลี่ยนแปลง การวิจัยเป็นแบบการวิจัยกึ่งทดลองที่มีกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง สมมุติฐานการวิจัย คือ (1)หลังการทดลอง กลุ่มโยนิโสมนสิการจะมีค่าคะแนนปัญญาสูงกว่าก่อนการทดลอง (2)หลังการทดลอง กลุ่มโยนิโสมนสิการจะมีค่าคะแนนปัญญาสูงกว่ากลุ่มควบคุม (3)หลังการทดลอง กลุ่มโยนิโสมนสิการจะมีค่าคะแนนปัญญาสูงขึ้นกว่ากลุ่มแนวทรอตเซอร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จำนวน 72 คน ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเข้ากลุ่มทั้งหมด 9 กลุ่ม คือ กลุ่มโยนิโสมนสิการ 3 กลุ่ม กลุ่มแนวทรอตเซอร์ 3 กลุ่มและกลุ่มควบคุม จำนวน 3 กลุ่ม ในแต่ละกลุ่มมีสมาชิกกลุ่มละ 6-8 คน ระยะเวลาดำเนินกลุ่มประมาณกลุ่มๆ ละ 20 ชั่วโมง หลังการทดลองมีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากสมาชิกแต่ละกลุ่ม จำนวน 13 คน เพื่อนำมาวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัดปัญญาที่สร้างโดยผู้วิจัย บันทึกประจำวันของสมาชิกและแบบประเมินการรับรู้ของสมาชิก วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติทีแบบกลุ่มไม่เป็นอิสระต่อกัน สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1)หลังการทดลอง กลุ่มโยนิโสมนสิการมีค่าคะแนนปัญญาสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2)หลังการทดลองค่าคะแนนปัญญาในกลุ่มโยนิโสมนสิการสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3)หลังการทดลองค่าคะแนนปัญญาในกลุ่มโยนิโสมนสิการไม่แตกต่างจากกลุ่มแนวทรอตเซอร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4)การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ พบว่า หลังการเข้ากลุ่มโยนิโสมนสิการ สมาชิกเกิดประสบการณ์ 18 เนื้อหาประสบการณ์ เช่น การเห็นคุณค่าของสรรพสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตตนเอง, ความสำนึก ขอบคุณ กตัญญูต่อครอบครัว ซึ่งสอดคล้องกับปัญญาทั้ง 2 มิติในงานวิจัย คือ ปัญญาในภาวะความสัมพันธ์เชื่อมโยง และปัญญาในภาวะความเปลี่ยนแปลงen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of the Yonisomanasikara group counseling on PANNA in interconnectedness and PANNA in change. The research was quasi-experimental with pretest and posttest control group design. The hypothesis were (1) the Yonisomanasikara group counseling could increase PANNA (2) after the experiment, PANNA score of the Yonisomanasikara group counseling was higher than that of the control group and (3)after the experiment, PANNA score of the Yonisomanasikara group counseling was higher than that of the Trotzer’ model group. The sample were seventy two students from Nakhorn Ratchasima Rajabhat University. Purposive sampling was used to select 9 groups, each of six to eight members to take part in group experiment, three groups for the Yonisomanasikara group counseling, three groups for a Trotzer’ model group and three groups for the control. Duration of each group participation was about 20 hours. After the experiment, qualitative data by in-depth interview was collected from thirteen members for depth analyses. The instruments used were the PANNA Scale developed by the researcher, self-report, and diary. Statistical methods used were independent t-test and an analysis of variance. The research showed that (1)after the experiment, the posttest PANNA score of the Yonisomanasikara group counseling was higher than it’s pretest score significantly at .001 (2)after the experiment, the posttest PANNA score of the Yonisomanasikara group counseling was higher than that of the control group significantly at .01 (3)after the experiment, there was no significant difference between the PANNA score of the Yonisomanasikara group counseling and that of the Trotzer’ model group (4)qualitative analysis showed that after participation in the Yonisomanasikara group counseling, eighteen PANNA elements were detected and they were congruent with the two factors of PANNA in the study.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.563-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโยนิโสมนสิการen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาen_US
dc.subjectจิตบำบัดen_US
dc.subjectพุทธศาสนา -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectCounseling psychologyen_US
dc.subjectPsychotherapyen_US
dc.subjectBuddhism -- Psychologyen_US
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มโยนิโสมนสิการที่มีต่อปัญญาในภาวะความสัมพันธ์เชื่อมโยงและภาวะความเปลี่ยนแปลงen_US
dc.title.alternativeEffects of Yonisomanasikara group counseling on Panna in interconnectedness and changeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.563-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
proetphan_da_front.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_ch1.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_ch2.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_ch3.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_ch4.pdf3.86 MBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_ch5.pdf4.02 MBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_ch6.pdf765.87 kBAdobe PDFView/Open
proetphan_da_back.pdf25.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.