Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53246
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorพชร เจนพนัส-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอินโดนีเซีย-
dc.date.accessioned2017-09-06T09:46:13Z-
dc.date.available2017-09-06T09:46:13Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53246-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractโครงงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตตามแนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย ด้วยวิธีคำนวณการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหวสะเทือน โดยใช้ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวจาก 3 แหล่งข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหว Global CMT Catalogue (GCMT) ฐานข้อมูลแผ่นดินไหว National Earthquake Information (NEIC) และฐานข้อมูลแผ่นดินไหว International Seismological Center (ISC) ซึ่งใช้ข้อมูลแผ่นดินไหวที่ถูกบันทึกตั้งแต่ปี ค.ศ 1964-2015 ในกรอบพื้นที่ศึกษา ละติจูดที่ -15.10 ถึง 1.61 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 96.09 ถึง 135.47 องศาตะวันออก ครอบคลุมแนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซีย โดยหลังจากปรับปรุงคุณภาพฐานข้อมูลแผ่นดินไหว พบว่ามีข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 4,982 เหตุการณ์ ซึ่งมีขนาดแผ่นดินไหวในช่วง 5.0-9.0 Mw ที่มีความสมบูรณ์และสามารถสื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวอย่างแท้จริง ทำการกำหนดกรณีศึกษาทั้งหมด 41 เหตุการณ์ โดยคัดเลือกแผ่นดินไหวที่มีขนาด 7.0 Mw ขึ้นไป เมื่อทำการทดสอบย้อนกลับพบว่าจำนวนเหตุการณ์ 25 เหตุการณ์ ที่มีกรอบเวลา 2 ปี ในรัศมีการพิจารณาข้อมูล 300 กิโลเมตร เป็นเงื่อนไขที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทาแผนที่การกระจายตัวของค่า Z เพื่อตรวจสอบบริเวณที่พบภาวะเงียบสงบ ซึ่งจากเงื่อนไขดังกล่าว ผลการศึกษาสามารถประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตได้ 3 บริเวณ ได้แก่ 1) บริเวณเมืองปาดัง (Padang) 2) บริเวณเมืองจาการ์ตา (Jakarta) และ 3) บริเวณเมืองยอร์กยาการ์ตา (Yogyakarta) ตลอดจนเมืองพรายา (Praya)en_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study prospective areas of the upcoming moderate to large earthquake were evaluated along the Indonesian Islands by using statistical method that investigates the seismicity rate change for detect seismic quiescence. The earthquake catalogues come from Global CMT Catalogue (GCMT), National Earthquake Information (NEIC) and International Seismological Center (ISC) those were reported between 1964- 2015 at latitude of -15.10-1.61N longitude of 96.09-135.47E covering the Indonesian Islands. After improving the earthquake catalogue process, the dataset left 4,982 events with 5.0-9.0 MW. We chose earthquake events that represent our case study for 41 events which the MW more than 7.0 Richter. After the retrospective test, we found 3 quiescence-anomaly areas for N = 25 events and TW= 2.0 years are appropriate characteristic parameter to analyse the spatial distribution of Z value maps. Consequently based mainly on the obtained suitable parameter of N and Tw and the most up-to-date seismicity data, the seismic quiescence maps reveal that there are 3 prospective areas might be risk for the upcoming moderate-large earthquakes, i.e., Padang, Jakarta and Yogyakarta to Praya.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- อินโดนีเซียen_US
dc.subjectEarthquakes -- Indonesiaen_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหวสะเทือนตามแนวหมู่เกาะประเทศอินโดนีเซียen_US
dc.title.alternativeSeismicity rate change along the Indonesian islandsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532707223.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.