Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา ยูนิพันธุ์-
dc.contributor.authorจิตสมร วุฒิพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-09T02:31:03Z-
dc.date.available2008-01-09T02:31:03Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741306482-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5346-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิต และเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิต และเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุหลังการทดลองระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตและกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ ณ สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางละมุง จังหวัดชลบุรี คัดกรองกลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ และแบบทดสอบสภาพจิตจุฬา จับคู่กลุ่มตัวอย่างโดยใช้เพศและระดับการศึกษาของผู้สูงอายุ ได้กลุ่มทดลองจำนวน 20 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัย และกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิต และแบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพจิตดี และแนวคิดของจินตนา ยูนิพันธุ์ (2534) ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงของแบบวัด เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบที ผลการวิจัยที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุหลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. หลังการทดลอง พฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this experimental research were to compare the psychological self-care behaviors of the elderly before and after participated in the psychogical health promotion program, and to compare the psychological self-care behaviors of the elderly who participated in the psychological health promotion program and participated in regular caring activities. The research design was pretest-posttest control group. Samples consisted of 40 elderly living in Banglamung Home for the aged. They were equally assigned into one experimental group and one control group by matching technique. Research instruments which were developed by the researcher, were a lesson plan of psychological health promotion program and a psychological self-care behavior scale. The reliability of the scale was .89. The t-test was used in data analysis. Major findings were the following: 1. The psychological self-care behaviors of the elderly who participated in the psychological health promotion program, after the experiment were significantly higher than before the experiment, at the .05 level. 2. After the experiment, the psychological self-care behaviors of the elderly who participated in the psychological health promotion program were significantly higher than those of the elderly who participated in regular caring activities, at the .05 level.en
dc.format.extent1041265 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.505-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- สุขภาพจิตen
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การสงเคราะห์en
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.subjectOlder people -- Mental health-
dc.subjectHealth promotion-
dc.subjectOld age assistance-
dc.subjectSelf-care, Health-
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุen
dc.title.alternativeEffects of psychological health promotion program on psychological self-care behaviors of the elderlyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการพยาบาลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisor[email protected]-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.505-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jitsamorn-edit.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.