Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์-
dc.contributor.authorลภน เตชะภิญญาวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialเพชรบูรณ์-
dc.date.accessioned2017-10-11T05:36:38Z-
dc.date.available2017-10-11T05:36:38Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53496-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วน ¹⁸O/¹⁶O สามารถถูกบันทึกไว้ในซากดึกดาบรรพ์ในทะเล เช่นแท่ง น้ำแข็ง ปะการัง แบรคิโอพอด โดยการเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วน ¹⁸O และ ¹⁶O มีความสัมพันธ์กับ สภาพภูมิอากาศ ณ เวลานั้น ๆ ซึ่งโครงการนี้ได้ทำการศึกษาผ่านตัวอย่างแบรคิโอพอด จากบริเวณ พื้นที่ศึกษา 2 บริเวณได้แก่บริเวณสานักสงฆ์ภูพระธาตุ อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ และบริเวณ เขาคอก อำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรีโดยตัวอย่างของแบรคิโอพอดในโครงการนี้ได้นำมาศึกษา ลำดับชั้นหิน วิเคราะห์โครงสร้างจุลภาค (microstructure) และการคงอยู่ของแร่เดิมของแบรคิโอพอด ภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM), X-ray diffraction เพื่อศึกษาแร่องค์ประกอบ ของแบรคิโอพอด และ Isotope ratio MS เพื่อศึกษาคาร์บอนไอโซโทปและออกซิเจนไอโซโทปและ นำมาเปรียบเทียบค่าไอโซโทปจากการศึกษากับไอโซโทปจากลำดับชั้นหินของมหายุคพาลีโอโซอิก จากการศึกษาลำดับชั้นหินและศิลาวรรณนาของทั้งสองบริเวณมีสภาพแวดล้อมการสะสมตัว ในทะเลน้ำตื้น โดยตัวอย่างของแบรคิโอพอดที่นำมาศึกษาในครั้งนี้มีการคงสภาพของแร่เดิมปานกลาง ถึงดีเนื่องจากการศึกษาโครงสร้างจุลภาคโดยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดนั้น แสดงให้ เห็นผลึกที่ละลายไปบางส่วน และโพรงที่เกิดจากการละลายบางส่วน แต่อย่างไรก็ตามตัวอย่างนี้ สามารถนำมาศึกษาคาร์บอนไอโซโทปและออกซิเจนไอโซโทปได้ โดยค่าเฉลี่ยคาร์บอนไอโซโทปบริเวณ สำนักสงฆ์ภูพระธาตุและเขาคอก อยู่ที่ 1.78 ‰ VPDB และ 2.78 ‰ VPDB ตามลำดับ และออกซิเจน ไอโซโทปของบริเวณสำนักสงฆ์ภูพระธาตุและเขาคอก อยู่ที่ -4.98 ‰ VPDB และ -4.76 ‰ VPDB ตามลำดับ โดยมีสภาพภูมิอากาศในเขตร้อน ซึ่งมีอุณหภูมิบรรพกาลบริเวณสำนักสงฆ์ภูพระธาตุ และ เขาคอกเฉลี่ยอยู่ที่ 39 และ 35.5 องศาเซลเซียสen_US
dc.description.abstractalternativeTypically, the ratio ¹⁸O / ¹⁶O were recorded in marine fossils. Such as ice core, corals brachiopods. Changing the value of ¹⁸O and ¹⁶O ratios relate with the climate at that time. This project was conducted through brachiopod samples. Two outcrops of study areas include the Phu Phra that Priest’s Camp site, Amphoe Chon Daen, Changwat Phetchabun and Khao Khok, Amphoe Nong Muang, Changwat Lopburi. The samples of brachiopod and lithostratigraphy study in this project have been taken. Analysis of the microstructure and the existence of primary minerals of brachiopod under the scanning electron microscope (SEM), X-ray diffraction to study the mineral compositions of brachiopods and Isotope ratio MS have been examined in order to study carbon isotopes and oxygen isotopes and to compared with previous studied of the isotope stratigraphy during the Paleozoic. The lithostratigraphy of these area shows shallow marine depositional environment. Brachiopod samples were medium to well preserved and their microstructures under SEM show some crystals melt and microdissolution vugs. However, these samples can be studied carbon and oxygen isotopes. The average carbon isotope in Phu Phra that Priest’s Camp site and Khao Khok are 1.78 ‰VPDB and 2.78 ‰VPDB respectively and oxygen isotopes in Phu Phra that Priest’s Camp site and Khao Khok are -4.98 ‰VPDB and -4.76 ‰VPDB respectively. The climate is tropical. Paleotemperature in Phu Phra that Priest’s Camp site and Khao Khok are 35.5 and 34 degree celcius.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1414-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectออกซิเจน -- ไอโซโทปen_US
dc.subjectซากแบรคิโอพอดดึกดำบรรพ์en_US
dc.subjectซากแบรคิโอพอดดึกดำบรรพ์ -- ไทยen_US
dc.subjectซากแบรคิโอพอดดึกดำบรรพ์ -- ไทย -- เพชรบูรณ์en_US
dc.subjectธรณีวิทยาประวัติศาสตร์en_US
dc.subjectธรณีวิทยาประวัติศาสตร์ -- ไทยen_US
dc.subjectธรณีวิทยาประวัติศาสตร์ -- ไทย -- เพชรบูรณ์en_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก -- ไทยen_US
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก -- ไทย -- เพชรบูรณ์en_US
dc.subjectOxygen -- Isotopesen_US
dc.subjectBrachiopoda, Fossilen_US
dc.subjectBrachiopoda, Fossil -- Thailanden_US
dc.subjectBrachiopoda, Fossil -- Thailand -- Phetchabunen_US
dc.subjectHistorical geologyen_US
dc.subjectHistorical geology -- Thailanden_US
dc.subjectHistorical geology -- Thailand -- Phetchabunen_US
dc.subjectClimatic changesen_US
dc.subjectClimatic changes -- Thailanden_US
dc.subjectClimatic changes -- Thailand -- Phetchabunen_US
dc.titleออกซิเจนไอโซโทปของแบรคิโอพอด ยุคเพอร์เมียน จังหวัดเพชรบูรณ์ : การประยุกต์ใช้ทางด้านภูมิอากาศบรรพกาลen_US
dc.title.alternativeOxygen Isotope of Pemian Brachiopods in Changwat Phetchabun: Paleoclimatic implicationen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1414-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5432731123_Lapone_Techapinyawat.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.