Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55830
Title: Estimation of environmental impacts of wood plastic composites (WPC)
Other Titles: การประเมินค่าผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมของวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติก
Authors: Poompat Rattanatraicharoen
Advisors: Chairit Satayaprasert
Soorathep Kheawhom
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: No information provided
[email protected]
Subjects: Polypropylene
Polypropylene -- Environmental aspects
Composite materials
Composite materials -- Environmental aspects
Environmental impact analysis
โพลิโพรพิลีน
โพลิโพรพิลีน -- แง่สิ่งแวดล้อม
วัสดุเชิงประกอบ
วัสดุเชิงประกอบ -- แง่สิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The objectives of this study are to estimate and to compare the environmental impacts of wood-plastic composites (WPCs) based on poly (vinyl chloride) (PVC) and polypropylene (PP). In this work, Life Cycle Assessment (LCA) is used as an environmental tool for the evaluation. The system boundary is defined to include materials acquisition, transportation and production. The functional unit is defined as 1 kg of WPC produced. LCA software tool, Simpro 6.0 with Eco-Indicator 99 methods, is applied. From the results obtained, the environmental impacts of these two WPCs come mainly from the material acquisition and manufacturing phases. For WPC-PP/Sawdust, the environmental impacts are essentially from polypropylene production in the material acquisition phase which resulting in impact category of acidification, heavy metals and respiration f inorganic substances. For WPC-PVC/Sawdust, the impacts caused mainly from poly (vinyl chloride) which resulting in impact category of acidification, heavy metals and respiration of inorganic substances. It is also observed that the production of WPC-PVC/Sawdust creates the environmental impacts approximately 1.3 times higher than WPC-PP/Sawdust. Moreover, this research considers the suitable plant location by investigation of the environmental impacts from the transportation. Base on the results, the suitable manufacturing plant location for WPCs production should be located near market (customer) because the environmental impacts contributed from transportation when the factory is located close to market, are lower than that of when factory is located near raw material sources.
Other Abstract: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการประเมินค่าและเปรียบเทียบผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมของการผลิตวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เตรียมจากพอลิไวนิลคลอไรด์และพอลิพรอพิลีน โดยใช้หลักการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life cycle assessment : LCA) เป็นเครื่องมือในการปรเมินผลกระทบ ซึ่งขอบเขตของการศึกาาคือศึกษาตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ และกระบวนการผลิตสำหรับหน่วยหน้าที่ของการศึกษานี้คือ วัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ในงานวิจัยนี้ใช้โปรแกรม SimaPro 6.0 ในการประมวลผล และใช้วิธี Eco-Indicator 95 และวิธี Eco-Indicator 99 เป็นวิธีในการประเมินค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติก จากผลการวิจัยพบว่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของวัสดุประกอบแต่งไม้พลาสติกทั้งสองสองชนิดส่วนใหญ่จะมาจากขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ และขั้นตอนการผลิต สำหรับวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เตรียมจากพอลิพรอพิลีนนั้นพบว่าผลกระทบส่วนใหญ่จะมาจากการใช้พอลิพรอพิลีนในขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ ซึ่งจะส่งผลกระทบในด้านการทำให้เกิดภาวะความเป็นกรด ปัญหาโลหะหนัก และโรคทางเดินหายใจจากสารอนินทรีย์ ส่วนผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เตรียมจากพอลิไวนิลคลอไรด์นั้นจะเกิดจากการใช้พอลิไวนิลคลอไรด์ ซึ่งจะส่งผลกระทบในด้านการทำให้เกิดฝนกรด ปัญหาโลหะหนัก และโรคทางเดินหายใจจากสารอนินทรีย์เช่นเดียวกับวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เตรียมจากพอลิพรอพิลีน และเมื่อทำการเปรียบเทียบผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมของวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกทั้งสองชนิดพบว่าวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เตรียมจากพอลิไวนิลคลอไรด์จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมสูงกว่าวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เตรียมจากพอลิพรอพิลีนประมาณ 1.3 เท่า นอกจากนี้เมื่อทำการศึกษาการเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานที่เหมาะสมโดยพิจารณาจากผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมจากการขนส่งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์พบว่า ตำแหน่งที่ตั้งโรงงานผลิตวัสดุประกอบแต่งไม้-พลาสติกที่เหมาะสมควรตั้งอยู่ใกล้กับตลาดผู้บริโภค เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการขนส่งน้อยกว่าการตั้งโรงงานอยู่ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55830
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1723
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1723
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
poompat_ra_front.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_ch1.pdf642.15 kBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_ch2.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_ch3.pdf746.2 kBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_ch4.pdf583.9 kBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_ch5.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_ch6.pdf506.74 kBAdobe PDFView/Open
poompat_ra_back.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.