Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58035
Title: | A study of Chinese idioms in the novel Huan Zhu Gege |
Other Titles: | การศึกษาวิจัยสำนวนภาษาจีนในนวนิยายเรื่องฮฺว๋านจูเก๋อเก๋อ |
Authors: | Sinchai Kimsiah |
Advisors: | Siriporn Petcharapiruch Peng, Zongping |
Other author: | Chulalongkorn University |
Advisor's Email: | [email protected] no information provided |
Subjects: | Huan Zhu Gege -- Criticism and interpretation Chinese language -- Idioms Chinese fiction ฮฺว๋านจูเก๋อเก๋อ -- การวิจารณ์และการตีความ นวนิยายจีน ภาษาจีน -- สำนวนโวหาร |
Issue Date: | 2008 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | 本論文的研究目的在於收集、調查小説《還珠格格》中的漢語熟語,而後將之整理分類,根據其特點,分類方法分爲兩種,即:按意義分類和按構成分類。同時也結合了小説中的例子,分析其含義和結構。此外還結合小説中的語言,總結其運用方法,分析和研究小説中的熟語所反映的文化現象。 研究結果顯示,《還珠格格》中的漢語成語按意義分類,可分爲 3 大類:人類 、社會和 自然;按構成分類,可分爲 8 種結構:主謂結構、動賓結構、並列結構、偏正結構、補充結構、連動結構、兼語結構和重疊結構。《還珠格格》中的漢語諺語按意義分類,可分爲 2 大類:人類和社會;按構成分類,可分爲 2 種句子結構:單句和複句。《還珠格格》中的漢語俗語按意義分類,可分爲 1 大類:即人類;按構成分類,可分爲 3 種結構:詞組、單句和複句。《還珠格格》中的漢語慣用語按意義分類,可歸入 1 大類:即人類;按構成分類,也僅有 1種結構:即動賓結構。《還珠格格》中的漢語歇後語按意義分類,只有一大類:即人類;按構成分類,也僅有 1種結構:即主謂結構。 在分析小説的運用方法上,熟語在句中可充當每一個句子成分,也可充當獨立的句子,因熟語有它的獨立性,根據小説中的實例,多數熟語可以獨立成句。在研究文化方面,熟語中反映出七個方面的文化現象,即:反映政治方面的熟語、反映經濟方面的熟語、反映軍事方面的、反映文教方面的熟語、反映人物方面的熟語、反映人類方面的熟語以及反映景色方面的熟語 |
Other Abstract: | ศึกษาค้นคว้าสำนวนภาษาจีนที่ปรากฎอยู่ในนวนิยายเรื่องฮฺว๋านจูเก๋อเก๋อ และทำการแบ่งประเภทสำนวนที่ได้มา โดยแบ่งเป็นสองวิธี กล่าวคือ แบ่งประเภทตามความหมายและแบ่งตามโครงสร้างไวยากรณ์ พร้อมทั้งแสดงตัวอย่างประโยคจากในนวนิยาย และยังศึกษาการใช้สำนวนในประโยค รวมทั้งศึกษาภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมของสำนวนดังกล่าว การวิจัยสรุปผลได้ว่า การแบ่งสำนวนจีนสี่พยางค์ตามความหมาย สามารถแบ่งได้เป็น๓ประเภทใหญ่ ได้แก่ มนุษย์ สังคม และ ธรรมชาติ การแบ่งสำนวนจีนสี่พยางค์ตามโครงสร้างไวยากรณ์ สามารถแบ่งได้๘ประเภท ได้แก่ โครงสร้างแบบประธานกับภาคแสดง โครงสร้างแบบกริยากับกรรม โครงสร้างแบบคู่ขนาน โครงสร้างแบบส่วนหลักกับส่วนขยาย โครงสร้างแบบส่วนเสริมกริยา โครงสร้างแบบกริยาคู่ โครงสร้างแบบมีคำสองหน้าที่และโครงสร้างแบบคำซ้ำ การแบ่งสุภาษิตจีนตามความหมาย สามารถแบ่งได้เป็น๒ประเภทใหญ่ ได้แก่ มนุษย์และสังคม การแบ่งสุภาษิตจีนตามโครงสร้างไวยากรณ์ สามารถแบ่งได้๒โครงสร้างทางประโยค ได้แก่ ประโยคความเดียวกับประโยคความรวม การแบ่งคำพังเพยจีนตามความหมาย สามารถแบ่งได้เป็นประเภท๑ใหญ่ ได้แก่ มนุษย์ การแบ่งคำพังเพยจีนตามโครงสร้างไวยากรณ์ สามารถแบ่งได้ ๓โครงสร้าง ได้แก่ วลี ประโยคความเดียวและประโยคความรวม การแบ่งคำที่ใช้บ่อยๆในภาษาจีนตามความหมาย สามารถแบ่งได้๑ประเภทใหญ่ ได้แก่ มนุษย์ การแบ่งคำที่ใช้บ่อยๆในภาษาจีนตามโครงสร้างไวยากรณ์ สามารถแบ่งได้ ๑โครงสร้าง ได้แก่ โครงสร้างแบบกริยากับกรรม การแบ่งสำนวนพักท้ายจีนตามความหมายสามารถแบ่งได้๑ประเภท ได้แก่ มนุษย์ การแบ่งสำนวนพักท้ายจีนตามโครงสร้างไวยากรณ์ สามารถแบ่งได้ ๑โครงสร้าง ได้แก่ โครงสร้างแบบประธานกับภาคแสดง ด้านการใช้สำนวนในนวนิยาย สำนวนต่างๆสามารถทำหน้าที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของประโยคได้ โดยส่วนใหญ่จะเป็นประโยคโดดๆ มีความหมายสมบูรณ์ในตัว ด้านภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม สำนวนจีนสะท้อนวัฒนธรรมได้๗ด้าน ได้แก่ สะท้อนด้านการเมือง สะท้อนด้านเศรษฐกิจ สะท้อนด้านการทหาร สะท้อนด้านการศึกษา สะท้อนด้านบุคคล สะท้อนด้านมนุษย์ และสะท้อนด้านทัศนียภาพ |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2008 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chinese as a Foreign Language |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58035 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1666 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2008.1666 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sinchai Kimsiah.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.