Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5974
Title: ระบบควบคุมแบบกำกับดูแลด้วยฟัซซีที่เหมาะสมที่สุดสำหรับหอกลั่นแยกสารผสมสองชนิด โดยใช้วิธีขั้นตอนทางพันธุกรรม
Other Titles: An optimum fuzzy supervisory control system of a binary distillation column using genetic algorithms
Authors: ธีรวุฒิ ฉัตรธนาอนันต์
Advisors: สุวลัย ประดิษฐานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ระบบควบคุมแบบกำกับดูแล
ฟัสซีลอจิก
Issue Date: 2543
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการศึกษาการออกแบบระบบควบคุมแบบกำกับดูแลด้วยตรรกศาสตร์ฟัซซีที่เหมาะสมที่สุด โดยใช้ตัวควบคุม PI เป็นตัวควบคุมหลักทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการโดยตรง และใช้ระบบตรรกศาสตร์ฟัซซีเป็นตัวกำกับดูแลการปรับจูนค่าพารามิเตอร์ของตัวควบคุม PI ตามกฎการควบคุมที่ได้ออกแบบไว้ โดยนำวิธีขั้นตอนทางพันธุกรรม (Genetic Algorithms: GAs) มาใช้ในการหาฟังก์ชันภาวะสมาชิก (Membership Function) และฐานกฎ (Rule Base) ที่เหมาะสมที่สุด เพื่อแสดงว่าระบบควบคุมนี้มีประสิทธิภาพเทียบเท่าระบบควบคุมแบบปรับตัวเองได้จึงนำไปประยุกต์ใช้กับหอกลั่นแยกสารผสมสองชนิดซึ่งมีความไม่เป็นเชิงเส้นสูงและพารามิเตอร์ของระบบเปลี่ยนแปลงช้าๆ ผลการควบคุมในเวลาจริงแสดงให้เห็นว่าระบบควบคุมที่ออกแบบขึ้นนี้สามารถควบคุมคุณภาพสารผลิตภัณฑ์ที่ยอดหอให้มีความบริสุทธิ์เป็นไปตามที่กำหนดไว้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอัตราการป้อนเข้าสารที่กลางหอ
Other Abstract: This thesis presents a design method of an optimum fuzzy supervisory control system. The system uses PI controllers as the main controllers that perform direct control and uses the fuzzy logic system to perform supervision for adjusting the parameters of the PI controllers according to the designed fuzzy control rules. Genetic Algorithms (GAs) are utilized to build up the optimal fuzzy membership functions and rules. To demonstrate that this design method can perform like an adaptive control, the proposed design is applied to a binary distillation column to maintain the top product composition as close as possible to the set points despite the presence of perturbations in the feed flow rate. The real-time implementation demonstrates the efficiency of this approach.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5974
ISBN: 9743462201
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Theerawut.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.