Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6053
Title: | ลีลาการขับเสภาไทย |
Other Titles: | Style of Sepa-Thai performing |
Authors: | จตุพร สีม่วง |
Advisors: | พิชิต ชัยเสรี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] |
Subjects: | เสภา เจิม มหาพน กล่อมโกศลศัพท์, หลวง, 2405-2485 เพราะสำเนียง, หลวง ขับคำหวาน, หมื่น เสนาะดุริยางค์, พระยา, 2409-2492 |
Issue Date: | 2543 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ เรื่อง ลีลาการขับเสภาไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาประวัติครูเสภาคนสำคัญ 2. ศึกษาผลงานการขับเสภาไทยของครูเสภาในอดีตจนถึงปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ผลงานการขับเสภาของแต่ละสำนัก ได้แก่ - ครูเจิม มหาพน - หลวงกล่อมโกศลศัพท์ (จอน สุนทรเกศ) - หลวงเพราะสำเนียง (ศุข ศุขวาที) - หมื่นขับคำหวาน (เจิม นาคมาลัย) - พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) ผลการศึกษาพบว่า การขับเสภาของแต่ละสำนักนั้นลีลาการขับ มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตนเอง ท่วงทำนองการขับเสภาในสมัยแรกมีลักษณะคล้ายทำนองแหล่เทศมหาชาติ ต่อมามีการพัฒนาทำนองการขับจนใกล้เคียงทางร้องอย่างปัจจุบัน การขับเสภาเป็นอิสระจากเครื่องดนตรี ผู้ขับสามารถเลือกใช้เสียงให้เหมาะสมกับความสามารถของตนเองได้ เสียงสำคัญที่ใช้ในการขับเสภานอกจากเสียงเสภาแล้วยังมีเสียงคู่หรือเคียงเสภา ซึ่งเป็นเสียงที่ต่ำเป็นคู่ 4 จากเสียงเสภา เหมาะให้ผู้หญิงขับ หรือผู้ที่มีคุณภาพเสียงด้วยกว่าเสียงเสภา การขับเสภาในสมัยแรกนั้นจะใช้ผู้ชายขับทั้งในบทผู้ชายและบทผู้หญิง |
Other Abstract: | The thesis on "style of Sepa Thai Performing" has been written up with the following objectives: 1. To study the life of the well-known Sepa teachers 2. To study the works on Sepa Thai of the past and present Sepa teachers 3. To analize the works of Sepa performance of each school namely: - Khru Cherm Mahaphon - Luang Klomkosolsub (Chon Sunsharakesa) - Luang Phrohsumning (Suk Sukawatee) - Muen Khabkhumwan (Cherm Nakamalai) - Praya Sanohdhuriyang (Cham Sundharawatin). The study shows that Sepa performing of a particular school has its own unique style. The characteristic of Sepa performing in the early days is similar to that of the Maha Chati Chanting. Later on the style has been improved and developed until becoming as it is nowadays. Sepa performing is independent of musical instruments. The performer is able to select the level of the tone that suits his own ability. Apart from the Sepa tone, there is an important tone in performing Sepa. This tone is forth interval lower than the Sepa tone. It is suitable for a female performer or a person whose voice quality is lower than the Sepa tone. In the formerly period, Sepa was performed by a male performer both for man and woman role. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
Degree Name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ดุริยางค์ไทย |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6053 |
ISBN: | 9741301693 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jatupon.pdf | 10.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.