Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61300
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัฒนาพร โกวพัฒนกิจ-
dc.contributor.authorจักรพันธ์ ตันทะรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-26T13:24:54Z-
dc.date.available2019-02-26T13:24:54Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61300-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractในปัจจุบันมีผู้เสียภาษีที่เป็นบุคคลธรรมดาจำนวนมากที่มีเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากรมาตรา 40 (6) (7) และ (8) โดยในการหักค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องนั้น ผู้เสียภาษีสามารถเลือกที่จะหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา กล่าวคือ หักเป็นค่าใช้จ่ายได้ตามอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้หรือเลือกที่จะหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควรก็ได้ ซึ่งถ้าผู้เสียภาษีเลือกที่จะหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการกำหนดค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502 ได้กำหนดให้ผู้เสียภาษีนำมาตรา 65 ทวิแห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534 และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2540 มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่อย่างไรก็ดี ในกรณีที่บุคคลธรรมดาประกอบการค้าหรือธุรกิจมักจะก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะผสมระหว่างค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะส่วนตัวกับค่าใช้จ่ายทางธุรกิจขึ้น เช่น ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการใช้บ้านทำเป็นสำนักงาน ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเดินทางไปประกอบการค้าหรือธุรกิจ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการนำรถยนต์ส่วนตัวเข้ามาใช้ประกอบการค้าหรือธุรกิจ ค่าความบันเทิงทางธุรกิจ และค่าใช้จ่ายของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เป็นต้น แต่บทบัญญัติตามประมวลรัษฎากรมาตรา 65 ทวิและมาตรา 65 ตรี เป็นบทบัญญัติที่กำหนดวิธีการคำนวณกำไรสุทธิของผู้เสียภาษีที่เป็นนิติบุคคลและรายจ่ายต้องห้ามที่ผู้เสียภาษีไม่สามารถที่จะนำมารวมคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลเท่านั้น ไม่มีบทบัญญัติที่รองรับการปันส่วนค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะผสมระหว่างค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะส่วนตัวกับค่าใช้จ่ายทางธุรกิจไว้แต่อย่างใด จึงก่อให้เกิดปัญหาการปันส่วนค่าใช้จ่ายที่มีลักษณะผสมดังกล่าวขึ้น ด้วยเหตุดังกล่าวจึงต้องวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยการพิจารณาหลักเกณฑ์การปันส่วนค่าใช้จ่ายตามกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้อง และหลักเกณฑ์การปันส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะผสมระหว่างรายจ่ายส่วนตัวกับราจ่ายทางธุรกิจของต่างประเทศ เพื่อให้ได้มีการกำหนดบทบัญญัติที่รองรับการปันส่วนรายจ่ายที่มีลักษณะผสมดังกล่าว-
dc.description.abstractalternativeThe primary concern of this study is to examine the tax issues of the deductibility of mixed business and personal expenses. Under the income tax system, it would be necessary to allow taxpayers to deduct the costs associated with producing income. Thus, business expenses are generally deductible but personal expenses are not. Nevertheless, if the taxpayers are any person who engage in a trade or business there are many expenditures that difficult to make a distinction between business expenses and personal expenses such as the home office costs incurred in using part of taxpayers’ home for business and the rest for private activities so that special rules, for the purpose of classifying those expenses, may be required for determining the deductibility of mixed expenses. Under Thai laws, If taxpayers derived income from trade or business as stipulated in Section 40 (8) of the Revenue Code, their assessable incomes may be deducted under Section 46 of the Revenue Code and Section 8 of the Royal Decree Prescribing Expenses Deductible From Assessable Incomes under the Revenue Code, (No. 11) B.E.2502 (1959) which the taxpayers have two options for computing the deduction: the lump-sum deduction, and the actual deduction. If the taxpayers select the latter, the Section 65 bis of the Revenue Code and  Section 65 ter of the Revenue Code, which are the provisions of calculation of net profit and net loss of companies, shall apply mutatis mutandis for the purpose of determine the net incomes of the taxpayers. However, the finding suggest that current Thai laws have no concept of mixed expenses as a result it have no any provision for tackling the deduction of those expenses Therefore, the study aim to analyze the problems arising from a lack of the concept of mixed expenses in Thai laws and to find the solutions by conducting based on the tax laws of the United States and Australia to provide guidelines for revising the Revenue Code of Thailand-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.634-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectภาษี-
dc.subjectภาษีเงินได้-
dc.subjectTaxation-
dc.subjectIncome tax-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleปัญหาการตัดรายจ่ายทางธุรกิจกับรายจ่ายส่วนตัวที่มีลักษณะผสมของผู้เสียภาษีที่เป็นบุคคลธรรมดา-
dc.title.alternativeProblem relating to the deduction of mixed business and personal expenses for personal income tax-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากร-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisor[email protected]-
dc.subject.keywordการตัดรายจ่าย-
dc.subject.keywordรายจ่ายที่มีลักษณะผสม-
dc.subject.keywordภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา-
dc.subject.keywordTax deduction-
dc.subject.keywordMixed Business and Personal Expenses-
dc.subject.keywordPersonal Income Tax-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.634-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5886161734.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.