Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกรณ์ วรานุศุภากุล-
dc.contributor.authorศศิพัชร์ ศรีวะลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-12T09:45:06Z-
dc.date.available2020-03-12T09:45:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64345-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้พัฒนาวิธีการเตรียมตัวอย่างด้วยวิธีการตกตะกอนโปรตีน สำหรับตรวจวัดปริมาณไอโอดีนในไข่ไก่โดยใช้เครื่องไอออนโครมาโทกราฟี โดยศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนโปรตีน ได้แก่ ชนิดตัวทำละลายโดยการสังเกตลักษณะทางกายภาพของตัวอย่างไข่ไก่หลังผ่านวิธีการเตรียมตัวอย่าง และประสิทธิภาพของวิธีการเตรียมตัวอย่าง โดยประเมินจากเปอร์เซ็นต์ค่าการคืนกลับจากการเติมสารละลายไอโอไดด์และไอโอเดตที่ความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าวิธีการตกตะกอนโปรตีนด้วยเมทานอลและอะซิโตไนไตรล์ร่วมกับกรดฟอร์มิกเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ สามารถกำจัดเมทริกซ์ไข่ไก่ได้สารละลายใสที่สุด จากเปอร์เซ็นต์ค่าการคืนกลับพบว่าเมทานอลมีความสามารถในการตกตะกอนไอโอไดด์และไอโอเดตดีกว่าอะซิโตไนไตรล์ เมทริกซ์ในไข่ไก่มีผลต่อการวัดปริมาณไอโอไดด์และไอโอเดต เมื่อนำวิธีการเตรียมตัวอย่างที่พัฒนาขึ้นไปหาปริมาณไอโอดีนในไข่ไก่เสริมไอโอดีน พบว่าได้ปริมาณไอโอไดด์ในไข่เสริมไอโอดีน ตัวอย่างที่ 1 0.4103 ไมโครกรัมต่อฟอง และ 0.4534 ไมโครกรัมต่อฟอง มีเปอร์เซ็นต์ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ -6 ถึง 4 เปอร์เซ็นต์ และ มีปริมาณไอโอไดด์ในไข่เสริมไอโอดีน ตัวอย่างที่ 2 0.8320 ไมโครกรัมต่อฟอง และ 0.5223 ไมโครกรัมต่อฟอง ตามลำดับ มีเปอร์เซ็นต์ค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์ 65 ถึง 78 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.description.abstractalternativeIn this research, was developed sample preparation method using protein precipitation technique for determination of iodine content in chicken eggs using ion chromatography. Parameters that affect protein precipitation efficiency were studied; such as types of organic solvent by observing the physical characteristics of the egg samples and matrix effect by evaluating the %recovery of spiked iodide and iodate in egg sample at the concentration of 5 mg/L. Protein precipitation method with organic solvent either MeOH or ACN with an addition of 1 %formic acid could physically remove egg matrix effectively. Regarding to the recovery study, methanol had showed a better performance in removing egg matrix for determination of iodide and iodate than acetonitrile. However, the %recovery showed that the egg matrix significantly affects the determination of iodide and iodate in the egg samples. The method was applied for determination of iodine content in the iodine enriched egg samples. The iodine content in iodine enriched egg sample 1 was 0.4103 μg/egg and 0.4534 μg/egg with %relative error of -6 – 4%. The iodine content in iodine enriched egg sample 2 was 0.8320 μg/egg and 0.5223 μg/egg with %relative error of 65 – 78%.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleพัฒนาวิธีการเตรียมตัวอย่างไข่ไก่เพื่อวิเคราะห์เชิงปริมาณไอโอดีนโดยใช้เทคนิคไอออนโครมาโทกราฟีด้วยอิเล็กทริคอลคอนดักติวิตีen_US
dc.title.alternativeDevelopment of sample preparation for determination of iodine in eggs using ion chromatography with electrical conductivity detectoren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasipat_S_Se_2561.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.