Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65226
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปาหนัน เริงสำราญ | - |
dc.contributor.author | ธนวรรณ เติมทรัพย์อนันต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-10T03:25:36Z | - |
dc.date.available | 2020-04-10T03:25:36Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65226 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้คัดแยกแบคทีเรียจากดินบริเวณรากพืช 13 ชนิดคือ มะนาว หม่อน องุ่น มะขามเทศ มะม่วง กล้วย ลิ้นจี่ ตีนเป็ด มะขามหวาน ขนุน สัก มะม่วงหาวมะนาวโห่ และผักกาดหอม โดยแบคทีเรียที่ คัดแยกถูกนำมาทดสอบความสามารถในการยับยั้งราสาเหตุของโรคพืช 7 ชนิด ได้แก่ Acremonium furcatum, Colletotrichum gloeosporioides , Fusarium proliferatum, Fusarium moniliforme, Fusarium solani, Pyricularia oryzae และ Phytophthora palmivora ไอโซเลตของแบคทีเรียที่มี ความสามารถในการยับยั้งราได้หลากหลายและมีความสามารถยับยั้งราได้สูงที่สุด 2 ลำดับแรก คือ D9B56Y ที่แยกได้จากดินบริเวณต้นตีนเป็ดซึ่ง มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง P. oryzae และ F. moniliforme ได้ดีที่สุด ที่ 45.83% และ 34.48% ตามลำดับ และ G6B106 ที่แยกได้จากดินบริเวณ ต้นผักสลัด ที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง C. gloeosporioides , F. solani และ P. oryzae ได้ดีที่สุด ที่ 35.14%, 30.23% และ 45.83% ตามลำดับ จากการพิสูจน์เอกลักษณ์โดยใช้สมบัติทางสัณฐานวิทยา พบว่าแบคทีเรียทั้งสองไอโซเลตย้อมติดสีแกรมบวกและสามารถสร้างเอนโดสปอร์ได้ และสมบัติทางพันธุ ศาสตร์โมเลกุล โดยการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16s rDNA เปรียบเทียบกับฐานข้อมูล พบว่า D9B56Y มีความใกล้เคียงกับ Bacillus amyloliquefaciens MS622 (KY780539.1) 100.00% และ G6B106 มีความใกล้เคียงกับ Bacillus amyloliquefaciens FS1092 (CP038028.1) 99.93% เมื่อ ทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งราโดยใช้น้ำเลี้ยงเชื้อของแบคทีเรียผสมกับอาหารเลี้ยงเชื้อด้วยอัตราส่วน 1:1 พบว่า D9B56Y และ G6B106 สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของราทั้ง 7 ชนิดที่นำมาทดสอบได้ โดย ทั้ง D9B56Y และ G6B106 มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้ง P. oryzae ได้ดีที่สุด ที่ 64.52% และ 100.00% ตามลำดับ ผลการทดลองเบื้องต้นนี้แสดงว่าแบคทีเรียทั้งสองไอโซเลตสามารถนำไปพัฒนาเพื่อใช้ในการ ควบคุมราที่ก่อโรคในพืชได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to isolate bacteria from 13 rhizosphere soils of different plants consisting lemon, mulberry, grape, tamarind, mango, banana, lychee, milkwood pine, sweet tamarind, jackfruit, teak, Karonda and lettuce. The isolated bacteria were tested for their ability to inhibit 7 fungi that cause plant diseases which were Acremonium furcatum, Colletotrichum gloeosporioides , Fusarium proliferatum, Fusarium moniliforme, Fusarium solani, Pyricularia oryzae and Phytophthora palmivora. The top two isolates that were able to inhibit several types of fungi with the highest percentage were D9 B5 6 Y and G6 B1 0 6. D9 B5 6 Y which was isolated from milkwood pine soil was able to inhibit P. oryzae and F. moniliforme at 45.83% and 34.48%, respectively; whereas G6B106 which was isolated from lettuce soil was able to inhibit C. gloeosporioides , F. solani and P. oryzae at 35.14%, 30.23 % and 45.83 % , respectively. Identification using morphological characteristics indicated that both isolates were Gram positive, endospore forming bacteria. Molecular genetics by analysis of nucleotide sequences of 1 6 s rDNA and comparison with the database revealed that D9 B5 6 Y was closed related to Bacillus amyloliquefaciens MS6 2 2 ( KY7 8 0 5 3 9 . 1) 100.00%, and G6 B1 0 6 was closed related to Bacillus amyloliquefaciens FS1092 (CP038028. 1 ) 99.93% Inhibition efficacy using cell-free supernatant of these isolated mixed with media at 1:1 ratio demonstrated that D9B56Y and G6B106 were able to inhibit the growth of all 7 fungi tested. Both isolates showed highest inhibition against P. oryzae at 64.52% and 100.00%, respectively. These preliminary results suggested that both D9B56Y and G6B106 can be developed for using in biological control against plant pathogenic fungi. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การแยกแบคทีเรียจากดินที่มีความสามารถในการยับยั้งราที่ก่อโรคในพืช | en_US |
dc.title.alternative | Isolation of bacteria from soil with antifungal activity against plant pathogenic fungi | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thanawan T_Se_2561.pdf | 6.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.