Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65305
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์ | - |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ พาชิยานุกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | กรุงเทพฯ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-12T20:59:29Z | - |
dc.date.available | 2020-04-12T20:59:29Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.issn | 9741726392 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65305 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและหาความสัมพันธ์ของการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองจากกลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 480 คน ได้รับแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์กลับคืนมา 410 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 85.42 วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับค่อนข้างสูงซึ่งด้านที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมากที่สุด คือด้านพฤติกรรมทางเพศ ส่วนด้านการออกกำสังกายมีค่าเฉลี่ยของคะแนนน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ยของคะแนนการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ค่อนข้างดีโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนมากที่สุด คือด้านพฤติกรรมทางเพศ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนน้อยที่สุด คือด้านการออกกำลังกาย 2. การรับรู้ความสามารถของตนเองมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 โดยด้านที่มีความสัมพันธ์มากที่สุดคือด้านความเครียดและสุขภาพจิต และด้านการสูบบุหรี่ การดื่มเหล้า และสารเสพติด ส่วนด้านที่มีระดับความสัมพันธ์น้อยที่สุด คือ ด้านการออกกำลังกาย | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the research were to study and correlate perceived self - efficacy to health behavior of students in upper secondary schools Under the Jurisdiction of the General Education Department in Bangkok Metropolis. The subjects were 480 students in upper secondary schoois. The constructed questionaires were sent to 480 students, but only 410 questionaires, accounted for 85.42 percent were returned. The data were then analyzed to obtain percentages, means, standard deviations and Pearson ' s Product Moment correlation. The results revealed as follows ; 1. Perceived self - efficacy to health behavior of students in upper secondary schools was found at the nearly high level. The sex behavior area met the highest mean scores, while the area of exercise met the lowest mean scores. Most students ' health behavior were at the nearly high level. The areas of sex behavior and exercise were at the highest and lowest level respectively. 2. Perceived self - efficacy and health behavior of students were significantly correlated at the .05 level. The highest correlation was mental health area and smoking, alcohol and narcotics using area. The exercise area had the lowest correlation. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.726 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพในวัยรุ่น -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | ความสามารถในตนเอง | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย | en_US |
dc.subject | จิตวิทยาวัยรุ่น | en_US |
dc.subject | Health behavior in adolescence -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Self-efficacy | en_US |
dc.subject | High school students | en_US |
dc.subject | Adolescent psychology | en_US |
dc.title | การรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Perceived self-efficacy to health behavior of students in upper secondary schools under the jurisdiction of the General Education Department in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | สุขศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.726 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Amornrat_ph_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 820.44 kB | Adobe PDF | View/Open |
Amornrat_ph_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 765.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Amornrat_ph_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Amornrat_ph_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 728.57 kB | Adobe PDF | View/Open |
Amornrat_ph_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Amornrat_ph_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Amornrat_ph_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.