Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65936
Title: ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับเชาวน์อารมณ์ของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย
Other Titles: Selected factors related to emotional intelligence of university students
Authors: จิตตินันท์ ชุมทอง
Advisors: ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ความฉลาดทางอารมณ์
ความเครียด (จิตวิทยา)
เด็ก -- การเลี้ยงดู
ความนับถือตนเอง
นักศึกษา
Emotional intelligence
Stress (Psychology)
Child rearing
Self-esteem
Students
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับเชาว์อารมณ์ของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งของภาครัฐบาลและ ภาคเอกชน สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคิรนทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น มีจำนวนทั้งสิ้น 667 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบสลอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดเชาว์อารมณ์ แบบวัดการอบรมเลี้ยงดู ซึ่งพัฒนารูปแบบการวิจัยเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูของ Baum rind แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองแบบวัดความเครียดและแบบวัดการเผชิญปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยวิธีการนำเข้าทุกตัวพร้อมกัน (Enter Method) ผลการวิจัยพบว่า มีตัวแปรจำนวน 5 ตัวแปรจากทั้งหมด 10 ตัวแปรที่ลามารถอธิบายความแปรปรวนของเชาวน์อารมณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยได้ร้อยละ 23.9 ซึ่งได้แก่ปัจจัยดังต่อไปนี้ 1) การเผชิญปัญหาแบบหลีกหนี 2) การเห็นคุณค่าในตนเอง 3) การเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา 4) การอบรมเลี้ยงดูแบบรักเอาใจใส่ และ 5) การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปะละเลย
Other Abstract: The propose of this research was to study the selected factors related to emotional intelligence of University students. The samples consisted of 667 students from public and private universities in Bangkok: Chulalongkorn University, Kasetsart University, Srinakharinwirot University, Siam University, Bangkok University, Kasembundit University, Dhurakitphundit University, Kuirk University and St. John University. The research instruments were Personal Data Questionaire, Emotional Intelligence Questionaire, Parenting style Questionaire which was developed from Baumrind’s research, Self-esteem Questionaire, Stress Questionaire and Coping Questionaire. The data were analyzed by the Multiple Regression Analysis with Enter Methods. The result shows that 5 from the total 10 variables account for 23.9 percent of the emotional intelligence of university students. Those five variables are 1) Avoidance coping 2) Self Esteem (3) Solving the problem coping 4)Authoritative parenting style and 5) Uninvolved parenting style.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: จิตวิทยาพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65936
ISSN: 9741760205
Type: Thesis
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jittinun_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ850.38 kBAdobe PDFView/Open
Jittinun_ch_ch1_p.pdfบทที่ 12.94 MBAdobe PDFView/Open
Jittinun_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.71 MBAdobe PDFView/Open
Jittinun_ch_ch3_p.pdfบทที่ 3970.26 kBAdobe PDFView/Open
Jittinun_ch_ch4_p.pdfบทที่ 4979.95 kBAdobe PDFView/Open
Jittinun_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5719.92 kBAdobe PDFView/Open
Jittinun_ch_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.