Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66586
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธรรมนูญ หนูจักร | - |
dc.contributor.author | วัชรพล โพธาราม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-25T07:17:14Z | - |
dc.date.available | 2020-06-25T07:17:14Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66586 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 | en_US |
dc.description.abstract | ได้พิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของสารระเหยง่ายในเห็ดหอมโดยใช้เทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปก- โตรเมตรี (GC-MS) ร่วมกับเทคนิคเฮดสเปซโซลิดเฟสไมโครเอกซ์แทรกชัน (HS-SPME) โดยใช้แคปิลลารีคอลัมน์ของ GC ประเภท HP-5MS ขนาด 30m × 0.25mm × 0.25μm และใช้การออกแบบการทดลองชนิด central composite design (CCD) ออกแบบการทดลองเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมเห็ดหอมตัวอย่างด้วย HS-SPME พบว่าสภาวะที่เหมาะสมของ HS-SPME คือ อุณหภูมิที่ใช้ในการสกัดเท่ากับ 75 องศาเซลเซียส ระยะเวลาที่ใช้ในการสกัดเท่ากับ 50 นาที และระยะเวลาในการปลดปล่อยสารในเครื่อง GC-MSเท่ากับ 10 นาที จากการพิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของสารระเหยง่ายในเห็ดหอมโดยเปรียบเทียบกับฐานข้อมูล NIST สามารถพิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของสาระเหยง่ายได้ทั้งหมด 32 ชนิด โดยเมื่อใช้วิธีเคโมเมทริกซ์ชนิดการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (PCA) พบว่าสามารถจำแนกกลุ่มของเห็ดหอมที่มาจากแหล่งเพาะปลูกที่แตกต่างกันได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี สระบุรี เชียงใหม่ และนครราชสีมา ด้วยรูปแบบ PCA ที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงบ่งชี้ได้ว่าสามารถใช้วิธี HS-SPME-GC-MS ร่วมกับวิธีเคโมเมทริกซ์ในการพิสูจน์ทราบเห็ดหอมที่มาจากแหล่งเพาะปลูกที่แตกต่างกันได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Volatile compounds in shiitake mushroom were determined by gas chromatography-mass spectrometry (GC-MS) combined with headspace solid phase microextraction (HS-SPME) using a capillary column of HP-5MS (30m × 0.25mm × 0.25μm). Using an experimental design called central composite design, the following optimal HS-SPME conditions were obtained: extraction temperature of 75 °C, extraction time of 50 min and desorption time of 10 min. Thirty-two volatile compounds were identified by comparing their mass spectra with those in the NIST database. Using principal components analysis (PCA), shiitake mushrooms were classified into four groups with different patterns of PCA, in consistent with their geographical origins: Pathumthani, Saraburi, Chiangmai and Nakhonratchasima. This indicates that HS-SPME-GC-MS combined with chemometrics can be used to identify the volatile compounds in shiitake mushroom from different geographical origins. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เห็ดหอม | en_US |
dc.subject | สารประกอบอินทรีย์ระเหย | en_US |
dc.subject | Shiitake | en_US |
dc.subject | Volatile organic compounds | en_US |
dc.title | การพิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของสารระเหยง่ายในเห็ดหอมโดยใช้เทคนิคเฮดสเปซโซลิดเฟสไมโครเอกซ์แทรกชัน-แก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโตรเมตรีร่วมกับเคโมเมทริกซ์ | en_US |
dc.title.alternative | Determination of volatile compounds in shiitake mushroom using headspace solid phase microextraction-gas chromatography-mass spectrometry combined with chemometrics | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Watcharaphon_Ph_Se_2558.pdf | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.