Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6710
Title: การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการพาณิชย์และด้านกายภาพ ของการขุดคอคอดกระ ส่วนที่ 3 : ส่วนการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม : รายงานผลการวิจัย
Other Titles: Feasibility study on the Kra Canal : commercial and physical aspects, part 3 : environmental study
Authors: เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต
พิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์
สมภพ รุ่งสุภา
อานุภาพ พานิชผล
สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง
Email: [email protected]
[email protected]
[email protected],[email protected]
[email protected]
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ
Subjects: โครงการขุดคอคอดกระ--แง่สิ่งแวดล้อม
คอคอดกระ
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาในส่วนสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย การจำแนกกิจกรรมของโครงการที่จะดำเนินการพื้นที่ที่ครอบคลุม เงื่อนไขของโครงการ การสำรวจภาคสนามเพื่อเก็บข้อมูลสิ่งแวดล้มอภาคสนามและการสืบค้นข้อมูลทุติยภูมิ และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากโครงการต่อปัจจัยที่ได้กำหนดไว้แล้ว โดยใช้ข้อมูลทั้งภาคสนามและข้อมูลทุติยภูมิ โดยใช้แนวคลองคอคอดกระ แนว 5A ซึ่งฝั่งทะเลอันดามันเริ่มต้นทีอำเภอปากบารา จังหวัดสตูล ไปออกฝั่งอ่าวไทย ที่อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ระยะทางบนบก 102 กิโลเมตร เมื่อรวมสันดอนและร่องน้ำในทะเลทั้งสองฝั่งรวมเป็น 120 กิโลเมตร คลองที่คาดว่าจะขุดเป็นแบบสำหรับเรือขนาด 500,000 เดทเวทตัน สองช่องทางสวนกันได้และแบบสำหรับเรือ 250,000 เดเวทตัน หนึ่งช่องทางเรื่อวิ่งทางเดียว กำหนดการประเมินผลกระทบแบบ Simple Check List รวมกับแบบ Descriptive Check List และ Scaling Check List ของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในระยะการขุดคลองและระยะดำเนินการ และกำหนดปัจจัยสิ่งแวดล้อมครอบคลุมทางกายภาพทางชีวภาพ และทางการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ผลการศึกษาพบว่า มีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม จากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมพบว่า ทางฝั่งทะเลอันดามัน ได้รับผลกระทบเชิงลบ ระดับ 0, -1,-2 และ -3 เท่ากับ 2,2, 8 และ 15 ปัจจัยจากทั้งหมด 32 ปัจจัย และได้รับผลกระทบเชิงบวกที่ระดับ 1,2 และ 3 เท่ากับ 1 และ 4 ปัจจัยจาก 32 ปัจจัย และทางฝั่งอ่าวไทย ได้รับผลกระทบสิ่งแวดล้อมเชิงลบที่ระดับ 0,-1, 2 และ -3 เท่ากับ 3,4,5 และ 15 ปัจจัย จากทั้งหมด 32 ปัจจัย และได้รับผลกระทบเชิงบวกที่ระดับ 1,2 และ 3 เท่ากับ 1 และ 4 ปัจจัยจาก 32 ปัจจัย
Other Abstract: The feasibility study on the Kra Canal : commercial and physical aspects for environmentl impact studied part was composed of project descriptive, area and condition, field survey and secondary data collection and impact assessment to interested parameter. The project used 5A line as model which open to Andaman Sea at Pak Bara District, Satun Province and open to the Gulf of Thialnd at Singhanakorn District, Sonkla Province. The distance on land was 102 kilometers and was 120 kilometers included coastal area. The expected constructionwas estimated for 500,000 dead weight tonnage with 2 canals, and for 250,000 dead weight tonnage with 1 canal. Impact assessment studied method combined Simple Checlist, Descriptive Checklist and Scaling Checklist method at Construction and Operation phase. The interesting paranmeter were Physical Parameter, Biological Parameter and Resources Utilization Parameter. For Andaman Sea the adverse impact level at 0, -1, -2 and -3 (from lowest to highest level) was found as 2, 2, 8 and 15 parameters from 32 parameters, and beneficail impact level at 1,2 1nd 3 (from lowest to highest level) was found as 1 and 4 parameters from 32 parameters. For the Gulf of Thailand the adverse impact level at 0, -1, -2 and -3 (from lowest to highest level) was found as 3, 4, 5 and 15 parameters from 32 parameters, and beneficial impact level at 1, 2 and 3 (from lowest to highest level) was found as 1 and 4 parameters from 32 parameters.
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6710
Type: Technical Report
Appears in Collections:Merch - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piamsak(kra).pdf13.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.