Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67296
Title: Reduction of delivery delay in a jewelry factory : a case study
Other Titles: การลดปัญหาการส่งสินค้าล่าช้าในโรงงานผลิตเครื่องประดับ
Authors: Nuntiya Jirawangul
Advisors: Jittra Rukijkanpanich
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Shipment of goods
Production planning
Process control
Jewelry trade
การขนส่งสินค้า
การวางแผนการผลิต
การควบคุมกระบวนการผลิต
อุตสาหกรรมอัญมณี
Issue Date: 2000
Publisher: Chulalongkorn University,
Abstract: This thesis concerns with reduce delivery delay problem in a jewelry factory caused by process flow. A jewelry factory faces with delivery delay problem is used as a case study. Process flow with in production is scoped to concentrate on. Analysing existing system is the first stage. Factors related with process flow are determined. The related factors consist of internal and external factor. The internal factors are the process flow itself, document How, and material handling. For the external factor, production planning is considered. After analysing, many improvements are introduced and have been implemented. The process flow is shorten by cutting some non-value added job regarding with maintain providing high quality product. Once the process flow changes, developed document system is introduced to serve the changed process flow. Some unimportant roles eliminated from the flow are replace within this document system. Basket system is implemented as new tool of material handling. Counting and checking size is reduced. Furthermore, the increase efficiency of responding to rework is achieved from the basket system. Monthly pre-production plan is developed. The introduced plan does not aim at advance stage of conformance the plan. It purposes to be as reminder for each shop. The production dates for each shop that still allows the final shop to finish its work are informed in the plan. Pull system is employed in parallel with the information received from the plan. Pulling job from the previous process is attempted when the informed date reaches. For the improvement result, It is provided in two forms: objective and subjective result. In objective aspect, the process flow is shorter. In quantitative result, process flow improvement has been proved by the manufacturing flow efficiency and rework rate. 14.4% and 47.4% of manufacturing flow efficiency and rework rate improvement is gained. When consider delivery performance, delivery satisfaction has been increased. From partial measurement, delay of delivery decreases around 66.6% . However, result evaluation of meeting thesis objective can not be directly proved. Therefore, subject result is generated in order to support objective fulfillment. By interviewing related staffs, the result comes out in the same positive direction. Finally, it could be concluded that the objective of this study to reduce delivery delay is fulfilled partially.
Other Abstract: ในวิทยานิพนธ์นี้ การลดปัญหาส่งสินค้าล่าช้าที่เกิดเนื่องมาจากขั้นตอนการไหลของงานในโรงงานผลิตเครื่องประดับไค้ถูกทำการศึกษา โดยโรงงานผลิตเครื่องประดับแห่งหนึ่งซึ่งกำลังประสบปัญหาการส่งมอบสินค้าล่าช้าถูกใช้เป็นกรณีศึกษา ปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวช้องกับขั้นตอนการไหลของงานไค้ถูกพิจารณา ซึ่งปัจจัยดังกล่าวประกอบไปด้วยปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกโดยปัจจัยภายในไค้แก่ ขั้นตอนการไหลของงาน การไหลของงานเอกสาร และการส่งมอบวัสดุ ส่วนปัจจัยภายนอกการวางแผนการผลิตไค้ถูกทำการพิจารณา หลังจากไค้ทำการวิเคราะห์ปัจจัยดังกล่าวแล้ว การปรับปรุงในหลายๆ ด้านได้ถูกนำเสนอและประยุกต์ใช้งานจริงอันได้แก่ การทำให้ขั้นตอนการไหลของงานสั้นลงโดยทำการตัดงานที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าบางส่วนออกไปโดยยังคงไว้ซึ่งการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ หลังจากที่ขั้นตอนการไหลเปลี่ยนแปลง ระบบการเอกสารและการไหลก็ได้พัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนของขั้นตอนการไหลของงาน โดยการทำงานบางส่วนของขั้นตอนการไหลที่ถูกดัดออกได้ถูกทดแทนโดยระบบเอกสารนี้ในขณะเดียวกันระบบการเดินตะกร้าได้ถูกนำมาใช้ในส่วนของการส่งมอบวัสดุ ซึ่งทำให้งานที่เกิดจากการนับและวัดขนาดลดลง นอกจากนี้ระบบตะกร้ายังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองต่องานซ่อมได้อีกด้วย ในขณะเดียวกันแผนการผลิตเบื้องต้นได้ถูกจัดทำขึ้นโดยมิได้มีวัตอุประสงค์เพื่อให้การผลิตเป็นไปตามแผนที่จัดทำ แผนนี้จัดทำขึ้นเพื่อช่วยเตือนให้ในแต่ละแผนกในเรื่องของวันที่ที่แต่ละแผนกควรจะทำการผลิตเพื่อที่จะส่งผลให้แผนกผลิตที่อยู่ท้ายสุดสามารถผลิตได้เสร็จตามกำหนด การส่งมอบสินค้า โดยระบบการดึงงานไค้ถูกนำงานใช้ควบคู่ไปกับตัวแผนการผลิตเบื้องต้นนี้ การดึงงานจากแผนกก่อนหน้าจะถูกกระทำเมื่อถึงกำหนดการที่ได้แสดงไว้ในแผนนั้น ผลของการพัฒนาปรับปรุงได้ถูกจัดทำในสองรูปแบบคือ ผลทางด้านวัตถุประสงค์และผลทางด้านจิตใจ ผลทางด้านวัตถุประสงค์คือขั้นตอนการไหลของงานสั้นลง โดยสามารถแสดงได้ในเชิงตัวเลขคือ การเพิ่มขึ้น 14.4% ของประสิทธิภาพของการไหลเชิงการผลิต และ การลดลง 47.4% ของอัตรางานซ่อม เมื่อพิจารณาในเรื่องการส่งมอบสินค้า มันได้ถูกพัฒนาให้ดีขึ้น โดยจากการวัดผลในบางส่วน การส่งมอบได้ลดลงถึง 66.6% อย่างไรก็ตามการประเมินผลในด้านการประสบผลสำเร็จต่อวัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์นี้ไม่สามารถทำได้โดยตรงอันเนื่องมาจากข้อจำกัดทางค้านการวัด ดังนั้นการสัมภาษณ์เพื่อวัดผลทางด้านจิตใจได้ถูกจัดทำขึ้นโดยผลที่ได้ออกมานี้เป็นไปในทางเดียวกันและออกมาในด้านบวก ท้ายสุดนี้จึงสามารถสรุปได้ว่าวัตถุประสงค์เพื่อลดปัญหาการส่งมอบสินค้าล่าช้าของวิทยานิพนธ์นี้ได้ถูกทำให้บรรลุในบางส่วน
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67296
ISSN: 9743462384
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuntiya_ji_front_p.pdfCover and abstract808.65 kBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_ch1_p.pdfChapter 1770.26 kBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_ch2_p.pdfChapter 2850.39 kBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_ch3_p.pdfChapter 3686.47 kBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_ch4_p.pdfChapter 42.71 MBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_ch5_p.pdfChapter 51.69 MBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_ch6_p.pdfChapter 6670.99 kBAdobe PDFView/Open
Nuntiya_ji_back_p.pdfReference and appendix2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.