Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67829
Title: อุดมทรรศน์เกี่ยวกับ "เขมร" ในปริจเฉทหนังสือพิมพ์ไทย : กรณีเหตุจลาจลเผาสถานทูตไทยในกัมพูชา พ.ศ. 2546
Other Titles: Ideologies on "The Khmers" in Thai newspaper discourse : the case of the anti-Thai riots in Cambodia in 2003
Authors: ชนกพร พัวพัฒนกุล
Advisors: ณัฐพร พานโพธิ์ทอง
ศิริพร ภักดีผาสุข
Advisor's Email: [email protected]
[email protected]
Subjects: หนังสือพิมพ์ไทย
ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- กัมพูชา
Thai newspapers
Thailand -- Foreign relations -- Cambodia
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาอุดมทรรศน์เกี่ยวกับ "เขมร' ในปริจเฉทหนังสือพิมพํไทย กรณีเหตุ จลาจลเผาสถานฑูตไทยในกัมพูชา พ.ศ.2546 ว่ามีการเสนอภาพของ "เขมร’' อย่างไร มีอุดมทรรศนิอะไรบ้าง อยู่เบื้องหลัง และใช้กลวิธีทางภาษาใดเพื่อสื่ออุดมทรรศนินั้น โดยเลือกศึกษาจากหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย 5 ชื่อฉบับ ได้แก่ ไทยรัฐ เดลินิวส์ คมชัดลึก ข่าวสด และมติซน ตั้งแต่ 28 มกราคม - 3 กุมภาพันธ์2546 ผลการวิจัยพบว่า,พบกลวิธีทางภาษาที่สื่อออุดมทรรศนิที่สำคัญ 9 กลวิธี ได้แก่ การใช้ถ้อยคำสมญานาม โครงสร้างทางวาทคิลป์การใช้ข้อสมมติเบื้องต้นเป็นเครื่องมือ การใช้รูปประโยคกรรม การอ้างคำกล่าว ของบุคคลอื่น การใช้กลวิธีการเล่าเรื่อง การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการตัดและเน้นข้อความ กลวิธี เหล่านี้ต่างเสนอภาพของ “เขมร" ที่ลอดคล้องกัน ได้แก่ เขมรป่าเถื่อน เขมรต้องพึ่งไทย เขมรไว้ใจไม่ได้ เขมร ด้อยปัญญา และเขมรเป็นศัตรูของชาติภาพของ “เขมร"ที่ปรากฏในปริจเฉทหนังสือพิมพ์รายวันไทยในช่วงเวลาดังกล่าว สะท้อนความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับความเป็น'ชาติ ซึ่งนำไปสู่การมองว่ามี “ชาติเรา” และ “ชาติเขา” และ “ชาติเรา” เหนือกว่า “ชาติเขา” และอุดมทรรศนิว่าด้วยสำนึกร่วมแห่งความเป็นชาติของคนไทย
Other Abstract: The present study aims at examining the ideology on “the Khmers” as represented in various types of discourse focusing on the case of the 2003 anti-Thai riots in Cambodia in Thai daily newspapers. The research questions here are: (1) what are the images of “the Khmers" projected in Thai daily newspapers (2) what is the ideology underlying the construction of such images (3) what are the linguistic devices adopted to explicitly and implicitly construct the ideology. The data elicited are from the top five popular Thai daily newspapers including Thai Rath, Daily news, Khao Sod, Matichon and Khom Chad Luek between January 28th to February 3rd 2003. It is found that the 9 linguistic strategies adopted in the data to construct the ideology on “the Khmers" are using selective choices of words, coining epithets, using rhetorical structures, using presupposition manipulation, using passive construction, using quotation, using detailed narratives, use of punctuation marks and font sizes, and highlighting. These devices altogether construct the images of “the Khmers” as the villain, the dependant, the untrustworthy and ignorant people and the enemy of the Thai.These images of “the Khmers” in Thai daily newspapers underlying the nationalistic ideology and the Thai national sentiment. These two sets of idea lead to the ‘us and them' concept and that ‘we are superior to them.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ภาษาไทย
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67829
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.711
ISBN: 9741421753
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.711
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanokporn_pu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ913.4 kBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_ch1_p.pdfบทที่ 1825.17 kBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_ch2_p.pdfบทที่ 21.3 MBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_ch3_p.pdfบทที่ 31.29 MBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_ch4_p.pdfบทที่ 44.21 MBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_ch5_p.pdfบทที่ 51.39 MBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_ch6_p.pdfบทที่ 6990.92 kBAdobe PDFView/Open
Chanokporn_pu_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก979.61 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.