Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรูญ มหิทธาฟองกุล-
dc.contributor.authorสุขสันติ์ เหล่ารักกิจการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-09T01:59:42Z-
dc.date.available2020-10-09T01:59:42Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743343806-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68466-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาการปรับปรุงการควบคุมชิ้นส่วนคงคลังที่สั่งซื้อจากภายนอกของโรงงานดัดแปลงรถยนต์ โรงงานตัวอย่างควบคุมชิ้นส่วนโดยการสั่งซื้อชิ้นส่วนตามแผนการใช้ชิ้นส่วน ( แผนการผลิตรถ ) พบว่า มีปัญหาการเก็บชิ้นส่วนมากกว่าแผนที่กำหนด เนื่องจาก 1.การต้องสั่งชิ้นส่วนเป็นจำนวนลงตัว Lot size ละ 20 คัน ขณะที่แผนการใช้ไม่ถึงปริมาณ Lot size ที่กำหนด ต้องเก็บชิ้นส่วน ๆ เกิน ซึ่งมีค่ามากเมื่อเทียบกับชิ้นส่วนที่มีการใช้น้อย 2.จากการสั่งชิ้นส่วนเป็นกลุ่มชิ้นส่วน ชิ้นส่วนที่ใช้มากกว่า 1 กลุ่ม จะต้องเก็บชิ้นส่วน ๆ เกินจากกลุ่มต่าง ๆ เข้าด้วยกัน 3.จากความไม่แน่นอนในการผลิต และการปรับปริมาณการสั่งชิ้นส่วนชดเชยไม่เหมาะสม โดยเฉพาะกรณีที่ผลิตได้ช้ากว่าที่วางแผนไว้ ทำให้ต้องเก็บชิ้นส่วนส่วนที่ยังไม่ใช้ ได้ทำการปรับปรุงระบบการสั่งชิ้นส่วน ดังนี้ 1.ลด Lot size ในการลังชินส่วน โดยเฉพาะชินส่วนทีมีอัตราการใช้น้อย 2.โดยเปลี่ยนระบบการสั่งชิ้นส่วนจากกลุ่มชิ้นส่วน มาเป็นระบบการสั่งชิ้นส่วนแยกรายการด้วยคัมบัง ( ในระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี Just In Time ) 3.ใช้คัมบังเป็นกลไกในการปรับปริมาณการสั่งชินส่วนแทนการสั่งตามแผนการใช้ชิ้นส่วน เพื่อรองรับความไม่แน่นอนในการผลิต ปรับไม่ให้มีการสั่งชิ้นส่วนมากเกินไป 4.ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานโดยออกแบบโปรแกรมฐานข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปไมโครซอฟท์แอกเชส 97 ที่ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์วินโดว์ 98 และใช้ระบบ บาร์โค้ดแบบ 39 ในการฟ้อนข้อมูล เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและความถูกต้องในการทำงาน ผลการปรับปรุงจากการทดลองกับตัวอย่างชิ้นส่วน 11 รายการ เป็นเวลา 3 เดือน ได้ว่าสามารถลดปริมาณการเก็บชิ้นส่วนของชิ้นส่วนตัวอย่าง จากเดิม2.0 ถึง 6.7 วัน เหลือเพียง 1.4 ถึง 1.6 วัน ซึ่งใกล้เคียงกับแผนที่กำหนดไว้ 1.5 วัน และไม่มีการหยุดการผลิตเนื่องจากขาดชิ้นส่วน-
dc.description.abstractalternativeStudies on the improvement of inventory control of parts that supply from outside vender. The samples plant (car remodeling plant) control inventories of parts by order parts follow the production schedule. There was a problem to kept stock of parts more than plan. Because of 1. Had to order part by lot size 20 unit / lot while required lower than lot size. So, it had to kept the oversupply parts. 2. Ordered parts as part group. In case of part which common use in other groups, it had to keep more parts that came from the other group. 3. Could not adjust part orders to support uncertainty of actual production. Especially delay condition, had to keep unused parts. To improved as 1. To reduced lot size to order part. Especially parts that used a little. 2. To changed the order method from part group to part items. And used a KANBAN (Just In Time) to order parts. 3. To used KANBAN to adjust part order volume to support uncertainty. 4 To used computer to support new system by making database from application software, Microsoft Access 97 operate in Microsoft Windows 98 and barcode type 39 for more quickly and correct for working. The result of studies of sample 11 items for 3 months showed that the improvement could reduce inventory part stock from 2.0 - 6.7 days to 1.4 - 1.6 days closely same plan as 1.5 days and without production stop due to part shortage.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์en_US
dc.subjectการควบคุมสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectการวางแผนการผลิตen_US
dc.subjectAutomobile supplies industry-
dc.subjectInventory control-
dc.subjectProduction planning-
dc.titleการควบคุมพัสดุชิ้นส่วนคงคลังจากผู้ผลิตชิ้นส่วนen_US
dc.title.alternativeInventory control of parts from a supplieren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected]-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suksan_la_front_p.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch1_p.pdf735.07 kBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch2_p.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch3_p.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch4_p.pdf4.11 MBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch5_p.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch6_p.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_ch7_p.pdf673.92 kBAdobe PDFView/Open
Suksan_la_back_p.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.