Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68683
Title: | ปรัชญาการเมืองในสามก๊ก ว่าด้วยเรื่องความยุติธรรม |
Other Titles: | Political philosophy in romance of the three kingdoms; on justice |
Authors: | สราวุฒิ ธนาศิลปกุล |
Advisors: | ไชยันต์ ไชยพร วีระ สมบูรณ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
Advisor's Email: | [email protected] [email protected] |
Subjects: | สามก๊ก การเมือง -- ปรัชญา ปรัชญาจีน ความยุติธรรม Philosophy, Chinese Justice |
Issue Date: | 2542 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความหมายของความยุติธรรมในตัวบทสามก๊กโดยใช้วิธีการศึกษาแบบตีความตัวบท (textual analysis) ซึ่งเป็นวิธีการศึกษาหาความรู้แบบแนวปรัชญาการเมือง ผลจากการศึกษาพบว่าความหมายของความยุติธรรมในสามก๊ก คือ ผลประโยชน์ของผู้แข็งแรงกว่าซึ่งผู้แข็งแรงกว่าในที่นี้หมายถึง ผู้ที่ฟ้ากำหนดมาให้เป็นผู้แข็งแรงกว่าโดยชาติกำเนิดโดยตรง หรือเป็นผู้แข็งแรงทางการเมือง โดยครอบครองอำนาจบางประการทางการเมืองและสร้างความชอบธรรมให้แก่ตนเองโดยอ้างอิงแนวคิดที่ว่า“ ฟ้าได้มีลิขิตให้ตนเป็นผู้ปกครอง” ซึ่งความหมายของความยุติธรรมในสามก๊กนั้นไม่แตกต่างจากความหมายความยุติธรรมขอเพลโตในบทสนทนาเรื่องอุตมรัฐ ตังที่เพลโตได้เขียนถึงความหมายของความยุติธรรมผ่านตัวละครที่ชื่อทราซีมาศุส ไว้ว่าความยุติธรรมคือ ผลประโยชน์ของผู้แข็งแรงกว่า |
Other Abstract: | The purpose of the thesis is to examine the real meaning of “justice” from Romance of The Three Kingdoms by using textual analysis in political philosophy. From the study, it is found that the meaning of “justice” from Romance of The Three Kingdoms is nothing but the interest of the stronger. In its context, the stronger means someone who have the heaven’s appointment (T’ian Ming) to be the emperor -the son of heaven or someone who were not born in the Royal family, but claimed that they received “T’ ian Ming”, heaven’s appointment, to make the “legitimate” to become the emperor that should not be rejected by the states. Moreover, the conclusion of the study determines that the meaning of justice from The Romance of The Three Kingdoms is not far from the meaning of justice in Plato’s Republic which one of the characters Thracymachus represents, namely, “the justice is nothing but the interest of the stronger” |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
Degree Name: | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การปกครอง |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68683 |
ISBN: | 9743342559 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sarawut_ta_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 812.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sarawut_ta_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 956.15 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sarawut_ta_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sarawut_ta_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sarawut_ta_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 4.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sarawut_ta_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 841.7 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sarawut_ta_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 779.34 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.