Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68713
Title: ความขัดแย้งระหว่างฝ่ายตุลาการกับคณะกรรมการกฤษฎีกาในการจัดตั้งศาลปกครอง : ศึกษาเฉพาะกรณีในสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
Other Titles: Conflict between judiciary and council of state in the establishment of administrative court in Thailand : a case study of General chavalit's administration
Authors: เพ็ชรชัย จงพีรเดชานนท์
Advisors: พิษณุ เสงี่ยมพงษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: ตุลาการ
คณะกรรมการกฤษฎีกา
ศาลปกครอง
ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
Judges
Administrative courts
Conflict (Psychology)
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาความขัดแย้งระหว่างฝ่ายตุลาการกับคณะกรรมการกฤษฎีกาในการจัดตั้งศาลปกครองสมัยรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหามูลเหตุของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งศึกษาวิเคราะห์วิธีการที่รัฐบาลนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งดังกล่าว โดยใช้ข้อมูลจากเอกสารในการศึกษาวิจัย จากผลการวิจัย พบว่าทั้ง 2 ฝ่ายตีความทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจแตกต่างกัน โดยฝ่ายตุลาการ มองว่าศาลยุติธรรมเท่านั้นที่จะใช้อำนาจตุลาการ ในขณะที่ฝ่ายคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่าศาลยุติธรรม เป็นเพียงองค์กรหนึ่งแต่อาจไม่จำเป็นจะต้องเป็นองค์กรเดียวที่ใช้อำนาจตุลาการ ดังนั้นการตีความทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจแตกต่างกันนี้ จึงนำไปสู่การเสนอร่างพระราชบัญญัติการจัดตั้งศาลปกครองในแนวทางที่แตกต่างกัน และนำไปสู่ความไม่พอใจของแต่ละฝ่ายต่อร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองที่เสนอโดยอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุให้รัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งดังกล่าด้วยการประนีประนอม โดยพยายามชะลอ การพิจารณาการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดตั้งศาลปกครองในประเทศไทย ซึ่งเป็นวิธีการที่เรียกว่า การไม่ตัดสินใจ (Non-decision making)
Other Abstract: This study examines the conflict between the Judiciary and the Council of State in the establishment of the Administrative Court under General Chavalit’s administration. This study intends to understand the cause of conflict as well as the methods used by the government in order to minimize the conflict. The findings in the study indicate that the Judiciary and the Council of State gave different meanings to the concept of separation of power. While the Judiciary believes that only the Court of Justice is legitimate to exercise the judicial power, the Council of State sees that the Court of Justice is one but not necessarily the only agency that can exercise the judicial power. Hence, these different interpretations of the concept of separation of power led to the conflict. In order for the Chavalit’s administration to minimize the conflict, the consideration of the bill regarding the establishment of the Administrative Court in Thailand was postponed, which indicates the phenomenon of non-decision making.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68713
ISSN: 9743312927
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Petchai_ch_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ476 kBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch1.pdfบทที่ 1269.48 kBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch2.pdfบทที่ 2962.26 kBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch3.pdfบทที่ 32.12 MBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch4.pdfบทที่ 4839.75 kBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch5.pdfบทที่ 51.65 MBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch6.pdfบทที่ 6764.44 kBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_ch7.pdfบทที่ 7360.72 kBAdobe PDFView/Open
Petchai_ch_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก5.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.