Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68738
Title: การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับการดำรงตำแหน่งสาธารณะ
Other Titles: Conflict of personal interest and public office
Authors: วุฒิพงษ์ พาณิชย์สวย
Advisors: บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: การขัดกันแห่งผลประโยชน์
ความรับผิดทางอาญา
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
Conflict of interests
Criminal liability
Constitutional law
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เจตนารมณ์ของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวกับการดำรงตำแหน่งสาธารณะ หรือการห้ามการกระทำอันเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ต้องการลดขนาดของอิทธิพลหรือผลประโยชน์ส่วนตัวอันไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ได้แก่ ผลประโยชน์ได้เสียทางการเงินหรือผลประโยชน์ส่วนตัวอื่น ๆ มิให้มีส่วนสัมพัทธ์ต่อคุณธรรมในการปฏิบัติภารกิจของผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณะ เพื่อป้องกันการทุจริตในตำแหน่งและเสริมสร้างหลักสุจริตธรรมในการบริหารการเมืองการปกครองแบบสากล กรณีของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ ได้พัฒนากฎหมายหรือธรรมเนียมปฏิบัติ และมีสภาพบังคับทางกฎหมายที่เหมาะสมก่อนประเทศไทยจึงควรนำแนวทางดังกล่าวมาพัฒนากฎหมายไทยให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น การนำแนวทางการพัฒนากฎหมายดังกล่าวมาใช้ควรกำหนดให้เป็นแนวทางเดียวกัน และควรขยายขอบเขตนยงข้อห้ามและสภาพบังคับให้เหมาะสมและกว้างขวางยิ่งขึ้น ตัวอย่างกรณีดังกล่าวควรครอบคลุมถึงการมีส่วนได้เสียทางการเงินในกรณีต่าง ๆ แต่เจ้าหนดการณียกเว้น เช่น การเปิดเผยข้อเท็จจริง กำหนดมาตรการรการถอดถอนการขาดคุณสมบัติ การทำงานเอกชนควรควบคุมถึงตำแหน่งในองค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร การประกอบวิชาชีพ แต่ยกเว้นการแสวงหารายได้จากภายนอกบางกรณี ส่วนการทำงานภายหลังพ้นตำแหน่ง ควรกำหนดข้อห้ามตามลำดับความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลา ตำแหน่ง และลักษณะของการเกี่ยวข้องในแต่ละกรณี
Other Abstract: The aim of rules regulating conflict of personal interest and public office or conflict of interest restriction is prevent the undue influence of personal gains from dominating, or appearing to dominate, the relevant merits of public office when he or she makes decisions. In other countries, such as the United States and Britain, have developed these rules before, usually focus on financial gains in several matters not only partial in contracts. In the present time, the rules should be applied more consistently and the scope extended, especially should empower the legal enforcement. For example to include: the official positions are full subject to criminal sanction, civil penalties, administrative or other remedies in different prohibitions, when he or she have financial interests in several matters; concurrent private employment interests or outside compensation and postemployment interests. Therefore, these aforesaid prohibitions under the U.S. and British laws should be adopted to implement the stringent conflict-of-interest rules in Thai legal system.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68738
ISBN: 9743344101
Type: Thesis
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wutthipong_pa_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ936.23 kBAdobe PDFView/Open
Wutthipong_pa_ch1_p.pdfบทที่ 1920.72 kBAdobe PDFView/Open
Wutthipong_pa_ch2_p.pdfบทที่ 21.26 MBAdobe PDFView/Open
Wutthipong_pa_ch3_p.pdfบทที่ 31.75 MBAdobe PDFView/Open
Wutthipong_pa_ch4_p.pdfบทที่ 41.71 MBAdobe PDFView/Open
Wutthipong_pa_ch5_p.pdfบทที่ 5988.06 kBAdobe PDFView/Open
Wutthipong_pa_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก3.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.