Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69124
Title: Non-oxidative methane coupling over metal-containing Y-type zeolite catalysts
Other Titles: ปฏิกิริยาการคู่ควบของมีเทนชนิดนอนออกซิเดทีฟบนตัวเร่งปฏิกิริยา ซีโอไลต์ชนิด Y ที่มีโลหะผสมอยู่
Authors: Waraporn Markpoon
Advisors: Suphot Phatanasri
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Zeolite catalysts
Zeolites
Methane
Adsorption
ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์
ซีโอไลต์
มีเทน
การดูดซับ
Issue Date: 1998
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: Non-oxidative methane coupling over metal-containing Y-type zeolite catalysts was investigated in this research with Co, Ru and Pt. It has been found that catalytic activity of the metal catalyst prepared by ion exchange method was better than the metal catalyst prepared by impregnation method. Comparison with 10% Co/HY, 10% NaY shows the very low activity for non-oxidative methane coupling. In addition, the percentage of metal loading, the appropriate percentages of cobalt, ruthenium and platinum were 10, 15 and 15% by weight, respectively. The products from this reaction are ethane and propane. Propane was produced on 10% Co/HY and 15% Ru/HY, while ethane was occurred on 15% Ru/HY and 15% Pt/HY. With the effect of space velocity of methane, the amount of propane was decreased when the space velocity of methane was increased from 4960 h⁻¹ to 6200 h⁻¹. On the other hand the amount of ethane was increased. In hydrogenation step found that the amount of propane produced on 10% Co/HY was much higher in argon stream than hydrogen stream.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษาปฏิกิริยาการคู่ควบของมีเทนชนิดนอนออกชิเดทีฟบนตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ชนิด Y ที่มีโลหะผสมอยู่ โดยเลือกใช้โลหะทรานสิชัน 3 ชนิด คือ โคบอลต์, รูทิเนียม และแพลทินัม พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมโดยวิธีแลกเปลี่ยนไอออน จะมีความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาได้ดีกว่าตัวเร่งปฏิกิริยา ที่เตรียมโดยวิธีอิมแพกเนชัน แบบเปียก (wet inpregnation method) เมื่อทำการศึกษาถึงผลของรูปแบบของตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ชนิด Y พบว่าสามารถในการเกิดปฏิกิริยา ของ H-form จะดีกว่า Na-form นอกจากนี้ยังพบว่า ปริมาณที่เหมาะสมของโลหะทั้ง 3 ชนิดที่ถูกเติมเข้าไปในตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ชนิด Y คือร้อยละ 10, 15 และ 15 โดยน้ำหนักตามลำดับ ส่วนอุณหภูมิที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยาของ 10% Co/HY, 15% Ru/HY และ 15% Pt/HY คือ 300, 200 และ 400 องศาเซลเซียส ตามลำดับ สำหรับสารผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยานี้ขึ้นอยู่กับตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ กล่าวคือตัวเร่งปฏิกิริยา 10% Co/HY ให้โพรเพนเป็นสารผลิตภัณฑ์ ส่วน 15% Ru/HY และ 15% Pt/HY สารผลิตภัณฑ์ คืออีเทนและโพรเพน สำหรับ 15% Pt/HY นั้นพบว่ามีอีเทนเกิดขึ้นในช่วงการดูดซับของมีเทน นอกจากนี้ยังพบว่าเมื่อเพิ่มความเร็วเชิงสเปซของมีเทนจาก 4960 ต่อชั่วโมง เป็น 6200 ต่อชั่วโมง ปริมาณโพรเพนที่ได้จะลดลง ส่วนปริมาณอีเทนเพิ่มขึ้น ในงานวิจัยนี้ยังได้พบว่าอากอนเป็นแก๊สที่ช่วยให้เกิดโพรเพนมากขึ้นในขั้นตอนไฮโดรจีเนชัน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1998
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69124
ISSN: 9743319689
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Waraporn_ma_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ600.94 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_ch1.pdfบทที่ 1151.64 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_ch2.pdfบทที่ 2233.38 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_ch3.pdfบทที่ 3618.04 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_ch4.pdfบทที่ 4647.95 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_ch5.pdfบทที่ 52.54 MBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_ch6.pdfบทที่ 664.12 kBAdobe PDFView/Open
Waraporn_ma_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก710.69 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.