Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69196
Title: Determination of adsorption of toluene and xylene vapors on activated carbon from corn cob using the gas chromatographic technique
Other Titles: การหาการดูดซับไอของโทลูอีนและไซลีนบนถ่านกัมมันต์ ซึ่งเตรียมจากซังข้าวโพดโดยใช้เทคนิคโครมาโทกราฟ
Authors: Supaporn Munsaithong
Advisors: Deacha Chatsiriwech
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: [email protected]
Subjects: Adsorption
Corncobs
Toluene
Carbon, Activated
Gas chromatography
Organic solvents
การดูดซับ
ซังข้าวโพด
โทลูอีน
คาร์บอนกัมมันต์
แกสโครมาโตกราฟี
สารตัวทำละลายอินทรีย์
Issue Date: 1998
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Corncob was activated with sulfuric acid, phosphoric acid and zinc chloride solution at 250°c, 300°c, and 600°c, respectively, to produce carbon adsorbents. The activation with zinc chloride provided the highest specific surface area, while that with sulfuric provided the lowest specific surface area. All activation produced non-polar surface. Adsorption equilibrium for dilute benzene, toluene and o-xylene vapor was measured indirectly by chromatographic method at 150-210°c. The increasing sequence of the equilibrium constants and the overall mass transfer coefficients for those vapors on a given carbon adsorbent were o-xylene, toluene and benzene. For a given adsorbate, the equilibrium constant on the carbon adsorbent activated with sulfuric acid was the lowest, while those on the other carbon adsorbents were hundred fold at least. The heats of adsorption of vapors were about 2-3 times heat of condensation.
Other Abstract: ตัวดูดซับถูกเตรียมขึ้นโดยการนำซังข้าวโพดมาทำการกระตุ้นด้วยกรดซัลฟุริค กรดฟอส ฟอริค และสารละลายซิงค์คลอไรด์ ที่อุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส, 300 องศาเซลเซียส และ 600 องศาเซลเซียส ตามลำดับ การกระตุ้นด้วยสารละลายซิงค์คลอไรด์จะได้ตัวดูดซับที่มีค่าพื้นที่ ผิวจำเพาะสูงที่สุด สำหรับการกระตุ้นด้วยกรดซัลฟุริคจะได้ตัวดูดซับที่มีค่าพื้นที่ผิวจำเพาะน้อยที่สุด และตัวดูดซับที่เตรียมขึ้นได้จะมีพื้นผิวแบบไม่มีขั้วเหมือนกันทั้งหมด ค่าคงที่สมดุลการดูดซับของเบนซีน โทลูอีน และออโธไซลีน ที่สภาวะเจือจาง จะถูกวัดทางอ้อมโดยวิธีโครมาโตกราฟี ที่อุณหภูมิ 150-210 องศาเซลเซียส ค่าคงที่สมดุลการดูดซับและ ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนมวลสารรวมของไอเบนซีน โทลูอีน และออโธไซลีน ที่วัดได้จะมีค่าเพิ่มขึ้นตามลำตับ สำหรับตัวถูกดูดซับชนิดเดียวกัน ค่าคงที่สมดุลการดูดซับบนตัวดูดซับที่ถูกกระตุ้นด้วย กรดซัลฟุริคจะมีค่าต่ำที่สุด ในขณะที่ค่าคงที่สมดุลการดูดซับบนตัวดูดซับชนิดอื่นจะมีค่าสูงกว่าอย่างน้อย 100 เท่า ส่วนปริมาณความร้อนของการดูดซับของไอระเหยเหล่านี้ด้วยตัวดูดซับที่เตรียมขึ้นมีค่าประมาณ 2-3 เท่าของความร้อนแฝงของการควบแน่น
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1998
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69196
ISBN: 9746396188
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supaporn_mu_front_p.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_mu_ch1_p.pdf758.02 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_mu_ch2_p.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_mu_ch3_p.pdf716.73 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_mu_ch4_p.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Supaporn_mu_ch5_p.pdf624.25 kBAdobe PDFView/Open
Supaporn_mu_back_p.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.