Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70481
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีวินท์ สุพุทธิกุล | - |
dc.contributor.author | อุมาพร เกตุสุวรรณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-11T14:06:54Z | - |
dc.date.available | 2020-11-11T14:06:54Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70481 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | - |
dc.description.abstract | สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความสัมพันธ์ของการปรับแนวทางการให้ความช่วยเหลืออย่างเป็นทางการ (ODA) ของญี่ปุ่นเมื่อปี ค.ศ.2015 กับการดำเนินยุทธศาสตร์ของญี่ปุ่นในยุครัฐบาลชินโซ อาเบะต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยกรอบแนวคิดการถ่วงอำนาจแบบใช้ไม้อ่อน (soft balancing) เนื่องจากญี่ปุ่นใช้ ODA เป็นเครื่องมือดำเนินยุทธศาสตร์ต่างประเทศมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เป็นพื้นที่เป้าหมายหลักของ ODA ญี่ปุ่นและมีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ความมั่นคงและเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น โดยการปรับแนวทาง ODA ของญี่ปุ่นต่อภูมิภาคดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการปรับเป้าหมายและแนวทางการดำเนินยุทธศาสตร์ของญี่ปุ่นต่อภูมิภาคในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งผลการศึกษาพบว่า รัฐบาลอาเบะใช้ ODA เป็นเครื่องมือสกัดกั้นการขยายอิทธิพลของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมุ่งเสริมสร้างความเป็นแกนกลางของอาเซียน (ASEAN Centrality) และศักยภาพด้านการพัฒนาของประเทศในภูมิภาคด้วยการให้ ODA เพื่อให้อาเซียนและประเทศสมาชิกลดการพึ่งพาจีนและรักษาระเบียบของภูมิภาคที่เอื้อต่อผลประโยชน์ของญี่ปุ่น เนื่องจากการผงาดขึ้นมาของจีน โดยเฉพาะการขยายอิทธิพลทางทะเลและยุทธศาสตร์ Belt and Road เป็นประเด็นท้าทายต่อการดำเนินยุทธศาสตร์และอิทธิพลของญี่ปุ่นในภูมิภาค | - |
dc.description.abstractalternative | The research purpose to study an implication of Japan’s official development assistance charter in 2015 and Abe Shinzo’s foreign strategy toward Southeast Asia by using the concept of Soft Balancing. Japan has applied ODA as strategic tool of foreign strategy since post WWII period particularly toward Southeast Asia region. This region is mainly target area of Japanese ODA and crucial for Japan’s economic and security strategies. Moreover, Japanese government has revised the ODA policy in Southeast Asia based on goal and method of their foreign strategies toward the region. The result found that, Abe government use ODA to strategically contain the expanding Chinese influence over Southeast Asia by supporting the ASEAN Centrality and developmental capability of ASEAN member countries. ODA is aimed to decrease ASEAN and member countries rely on China and preserve regional order that is advantageous to Japan’s interest in the region. As the rise of China, especially maritime power expanding and Belt and Road strategy, challenge Japanese strategy and influence in Southeast Asia. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.212 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่น -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | - |
dc.subject | ญี่ปุ่น -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | - |
dc.subject | Economic assistance, Japan -- Southeast Asia | - |
dc.subject | Japan -- Foreign relations -- Southeast Asia | - |
dc.subject.classification | Social Sciences | - |
dc.title | การปรับแนวทางความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยรัฐบาลชินโซ อาเบะ | - |
dc.title.alternative | Implication of Japan’s Official Development Assistance (ODA) toward Southeast Asia under Prime Minister Shinzp Abe regime | - |
dc.type | Independent Study | - |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.subject.keyword | การให้ความช่วยเหลืออย่างเป็นทางการ | - |
dc.subject.keyword | ODA | - |
dc.subject.keyword | การถ่วงดุลอำนาจแบบใช้ไม้อ่อน | - |
dc.subject.keyword | soft balancing | - |
dc.subject.keyword | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | - |
dc.subject.keyword | ชินโซ อาเบะ | - |
dc.subject.keyword | ความเป็นแกนกลางของอาเซียน | - |
dc.subject.keyword | การขยายอิทธิพลของจีน | - |
dc.subject.keyword | Japan's official development assistance | - |
dc.subject.keyword | ODA | - |
dc.subject.keyword | Southeast Asia | - |
dc.subject.keyword | Shinzo Abe | - |
dc.subject.keyword | ASEAN Centrality | - |
dc.subject.keyword | The rise of China | - |
dc.subject.keyword | Developmental Capability | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2019.212 | - |
Appears in Collections: | Pol - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6181036724.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.