Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรูญ มหิทธาฟองกุล-
dc.contributor.authorสมปอง วรรธนะถาวรเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-02T09:32:30Z-
dc.date.available2020-12-02T09:32:30Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746383906-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71200-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้คือ การพัฒนาระบบการวางแผนการผลิตในงานปฏิบัติการของ โรงงานผลิตเบาะรถยนต์ให้สอดคล้องกับปริมาณความต้องการของลูกค้า โดยเน้นศึกษากับโรงงานตัวอย่างที่เลือกขึ้นมาและคาดว่าจะลามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับโรงงานอื่น ๆ ที่มีลักษณะและประเภทเดียวกันได้ ผลของการศึกษาวิจัยพบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ แผนการผลิตไม่มีรูปแบบกฎเกณฑ์และการวางแผนที่แน่นอน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ไต้เสนอแนะระบบการวางแผนการผลิตในงาน ปฏิบัติการและระบบการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารทางการผลิตเพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมการผลิตในงานปฏิบัติการ เพื่อให้ระบบการทำงานของโรงงานตัวอย่างนี้สอดคล้องกับปริมาณสั่งซื้อ และสอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ซึ่งผลที่ได้จากการนำระบบที่จัดทำขึ้นนี้มาใช้ทดสอบพบว่า ระยะเวลาที่งานเสร็จใกล้เคียงกับกำหนดวันส่งมากขึ้นและเร็วกว่าการวางแผนแบบเดิม รวมทั้งแรงงานที่ใช้ในการผลิตมีจำนวนลดลง จาก 10 คนเหลือเพียง 6 คน ทำให้ลดค่าใช้จ่ายต้านแรงงานลง-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to develop the shop floor planning system of the Autoseats Company to correspond with the customers’ demands. This thesis also emphasizes on studying the sampled factories and expects that it can be applied to other factories with the same characteristics and categories. According to the results, there are a few problems: the indispensable information is not utilized, and the production plans are not systematic. This thesis suggests the planning system applied for operation and producing information storage to make the producing system of this sampled factory correspond with orders and operations. By applying this system, the accomplished time is close to or faster than the estimated delivery time of the previous method. Moreover a number producing labors diminishes from 10 to 6, which subsequently can reduce the labor costs.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวางแผนการผลิตen_US
dc.subjectการกำหนดงานการผลิตen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมรถยนต์en_US
dc.subjectProduction planningen_US
dc.subjectProduction schedulingen_US
dc.subjectAutomobile industry and tradeen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการวางแผนการผลิตในงานปฏิบัติการสำหรับโรงงานขนาดเล็ก : กรณีศึกษาโรงงานผลิตเบาะรถยนต์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of shop floor planning system for small scale factory : the case study of autoseats factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisor[email protected], [email protected]-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sompong_wa_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.25 MBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_ch1.pdfบทที่ 1159.11 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_ch2.pdfบทที่ 2448.53 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_ch3.pdfบทที่ 3754.57 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_ch4.pdfบทที่ 42.9 MBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_ch5.pdfบทที่ 5873.75 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_ch6.pdfบทที่ 669.84 kBAdobe PDFView/Open
Sompong_wa_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.