Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71417
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทนี อิทธิพานิชพงศ์ | - |
dc.contributor.advisor | นิจศิริ เรืองรังษี | - |
dc.contributor.author | นันทิกา ฮั่นต้นพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-08T08:42:20Z | - |
dc.date.available | 2020-12-08T08:42:20Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741432429 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71417 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานํ้ามันระเหยจากเหง้าว่านสาวหลงโดยการกลั่นด้วยไอนํ้า สารที่พบมากที่สุด คือ p-( 1- Butenyl)anisole,trans และการศึกษาฤทธิ์เบื้องต้นทางเภสัชวิทยาของนํ้ามันระเหย ต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ เรียบหลอดลมของหนูตะเภา กล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดแดงใหญ่และกล้ามเนื้อเรียบลำไล้เล็กล้วน ileum ของ หนูขาว พบว่านํ้ามันระเหยความเข้มข้นแบบสะสม (2.5x105-7.81x102 %v/v) สามารถลดการหดตัวของ กล้ามเนื้อเรียบทุกอวัยวะที่ทำการทดสอบ โดยการคลายตัวสูงสุดพบในลำไล้เล็กล้วน ileum (40.53%) รองลงมาคือหลอดลม (38.35 %) และหลอดเลือด (4.85 %) ตามลำดับ จากการศึกษากลไกการทำงานต่อ กล้ามเนื้อเรียบอวัยวะต่างๆ ของนํ้ามันระเหยจากว่านสาวหลง พบว่านํ้ามันระเหยที่ความเข้มข้น 6.25 X10-3- 7.81x102 %v/v สามารถยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบหลอดลมเมื่อกระตุ้นด้วย histamine และ KCI ใน การทดสอบความสัมพันธ์ของนํ้ามันระเหยต่อชิมพาเธติครีเซปเตอร์ ในการควบคุมการคลายตัวของกล้ามเนื้อ เรียบหลอดลม พบว่านํ้ามันระเหยความเข้มข้นสูงสุดที่ศึกษา คือ 7.81x10’2%v/v ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลม คลายตัว โดยผ่านการกระตุ้น β2-adrenoceptor และการทดสอบความสัมพันธ์ต่อพาราชิมพาเธติค รีเซปเตอร์ โดยใช้ ACh พบว่านํ้ามันระเหยไม่สามารถยับยั้งการหดตัวของหลอดลมได้ นื้ามันระเหยที่ความเข้มข้นสูงสุดที่ ศึกษา คือ 7.81x10-2 %v/v สามารถยันยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบหลอดเลือดแดงใหญ่ เมื่อกระตุ้นด้วย 5-HT และที่ความเข้มข้น 1.56x10-2-7.81x10-2 %v/v ยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียนหลอดเลือดแดงใหญ่ เมื่อกระตุ้นด้วย CaCI2 ล้วนความสัมพันธ์ต่อชิมพาเธติค รีเซปเตอร์ในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบ หลอดเลือด โดยใช้ NE พบว่านํ้ามันระเหยทุกความเข้มข้นสามารถยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบหลอด เลือดแดงใหญ่ได้ ผลของนํ้ามันระเหยต่อกล้ามเนื้อเรียบลำไล้เล็กล้วน ileum พบว่านํ้ามันระเหยที่ความเข้มข้น สูงสุดที่ศึกษา คือ 7.81 X102 %v/v สามารถยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบลำไล้เล็ก เมื่อกระตุ้นด้วย histamine, 5-HT และ BaCI2 การทดสอบถึงความสัมพันธ์ต่อพาราชิมพาเธติครีเซปเตอร์ ในการควบคุมการ ทำงานของกล้ามเนื้อเรียบลำไล้เล็ก โดยใช้ ACh พบว่านํ้ามันระเหยความเข้มข้น 7.81x10-2 %v/v สามารถ ยับยั้งการหดตัวของลำไล้เล็กได้ สำหรับการทดลองใน Ca-2-free Krebs-Henseleit solution พบว่านํ้ามัน ระเหยสามารถยับยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียนหลอดลม หลอดเลือดแดงใหญ่ และสำไล้เล็กได้เช่นกัน จาก ผลการทดลอง แสดงให้เห็นว่านํ้ามันระเหยจากว่านลาวหลงออกฤทธี้ยันยั้งการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบอวัยวะ ต่างๆ ที่ได้รับสารกระตุ้นที่จำเพาะต่อตัวรับบนอวัยวะนั้นๆ ได้หลายชนิดแบบไม่เฉพาะเจาะจง (non-specific antagonist) ซึ่งกลไกการออกฤทธิ์น่าจะเกิดจากการรบกวนการเคลื่อนที่ของแคลเซียมผ่านเข้าเซลล์ทางช่อง ผ่านของแคลเซียม ทั้ง ROCs และ VDCs และมีผลต่อการหลั่งแคลเซียมออกจาก sarcoplasmic reticulum | - |
dc.description.abstractalternative | The volatile oil from Amomum biflorum Jack, was obtained by steam distillation. The highest composition found was p-(1-Butenyl)anisole,/rans(85.17%). Preliminary pharmacological effect of the volatile oil was evaluated on the smooth muscle of guinea pig trachea, rat aorta and ileum. At the cumulative concentration (2.5x10-5 - 7.81x10-2 % v/v), the volatile oil decreased smooth muscle contraction of all the above smooth muscle preparations. The most prominent relaxation was found in ileum (40.53%). The other were trachea (38.35%) and aorta (4.85%). The mechanism mediated through this relaxation effect was investigated. In guinea pig tracheal smooth muscle, the volatile oil (6.25x10-3- 7.81 x10-2 %v/v) suppressed the contraction induced by histamine (1x104 M) and KCI (60 mM). The control of tracheal smooth muscle ralaxation via sympathetic receptor (β-adrenoceptor) was found at the highest concentration of the volatile oil (7.81x10-2 %v/v) since it could reduce histamine induced contraction after propranolol pretreatment. However,it was unable to inhibit the tracheal contraction induced by acetylcholine. In vascular smooth muscle, the highest concentration of oil (7.81x10-2%v/v) decreased 5-HT ( 1x10-6M) induced aortic contraction. This effect was also exhibited in the contraction induced by CaCL, (30 MM) at the concentration of 1.56x10-2- 7.81x10-2%v/v. The sympathetic involvement in aortic contraction was found in NE induced contraction because the volatile oil relaxed the aortic contraction at all concentration (2.5x10-5 - 7.81x10-2 % v/v). Only at the highest concentration of the oil (7.81x10-2 Vov/v) demonstrated the inhibitory effect in histamine,5-HT,BaCI2 and ACh induced ileal contraction. Furthermore, the volatile oil inhibited the contraction of tracheal smooth muscle, vascular smooth muscle and ileal smooth muscle in Ca2 free solution. The data suggests that the volatile oil possessed non-specific smooth muscle antagonist activity. It might interfere with intracellular calcium level through ROCs , VDCs and sarcoplasmic calcium release. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ว่านสาวหลง | en_US |
dc.subject | น้ำมันหอมระเหย -- การใช้รักษา | en_US |
dc.subject | กล้ามเนื้อเรียบ | en_US |
dc.subject | Amomum biflorum | en_US |
dc.subject | Essences and essential oils -- Therapeutic use | en_US |
dc.subject | Smooth muscle | en_US |
dc.title | การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้ำมันระเหยจากว่านสาวหลงต่อกล้ามเนื้อเรียบที่แยกจากกาย | en_US |
dc.title.alternative | Pharmacological effects of volatile oil from amomum biflorum on isolated smooth muscle preparations | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การแพทย์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
dc.email.advisor | [email protected] | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nuntika_hu_front_p.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nuntika_hu_ch1_p.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nuntika_hu_ch2_p.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nuntika_hu_ch3_p.pdf | 2.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nuntika_hu_ch4_p.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Nuntika_hu_back_p.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.